วันศุกร์ที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2564

โรคกุ้ง กับการเลี้ยงกุ้ง


 

     " โรคกุ้งกับการเลี้ยงกุ้ง "    

ต้องยอมรับว่าการเลี้ยงกุ้งในปัจจุบันเกษตรกรมักจะมีความกังวลในเรื่องของโรคกุ้งต่างๆที่เกิดขึ้นในช่วงการเลี้ยงกุ้งหรือแพร่ระบาดอย่างรุนแรงในแต่ละช่วงของฤดูกาลไม่ว่าจะเป็นโรคที่เกิดจาก เชื้อไวรัสแบคทีเรีย และ ปรสิต โดยเฉพาะโรคที่เกิดจาก เชื้อไวรัส ที่ยังไม่มีทางรักษาเรียกได้ว่าเป็นขึ้นมาคงต้องจับกันอย่างเดียว รวมไปถึงการจัดการที่ดี เพื่อป้องกันมิให้ไวรัสแพร่กระจายไปบ่ออื่น หรือแหล่งน้ำธรรมชาติ ทั้งนี้ยังรวมไปถึงปัจจัยต่างๆที่มีผลต่อการเกิดโรคของกุ้งด้วยเช่นกัน ไม่ว่าจะเป็นคุณภาพลูกกุ้ง คุณภาพน้ำ การจัดการบ่อเลี้ยง,ฟาร์มเลี้ยง การดูแลระหว่างการเลี้ยงต่างก็เป็นปัจจัยที่จะส่งผลให้กุ้งเสี่ยงต่อการเกิดโรคได้ทั้งนั้น ถ้าเราขาดการดูแลเอาใจใส่เราจะมาดูกันว่าในการเลี้ยงกุ้งในปัจจุบันนี้มีโรคอะไรกันบ้าง เพื่อให้เกษตรกรได้รับความรู้ความเข้าใจ และแต่ละชนิดเป็นยังไง


"โรคกุ้ง แบ่ง เป็น 3 กลุ่มใหญ่ ได้แก่.."


1 .โรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส
ลักษณะดวงขาวบริเวณใต้เปลือก

1.1) โรคตัวแดงดวงขาว
▪️สาเหตุของโรคเชื้อไวรัส White Spot Syndrom Virus (WSSV) ชนิด DNA
▪️อาการพบ ดวงขาว บริเวณใต้เปลือกส่วนหัวและลำตัว  ลำตัวกุ้งจะมีสีแดง มีอัตราตายสูงถึง 100% ภายใน 3-5 วัน
▪️การระบาดของโรค พ่อแม่พันธุ์ พาหะ น้ำ
▪️การรักษา ยังไม่พบวิธีการรักษาที่แน่นอน แต่สามารถป้องกันได้


  


1.2) โรคกล้ามเนื้อขาวขุ่น
▪️สาเหตุของโรคเชื้อไวรัส Infecious Myonecrosis Virus (IMNV)
▪️อาการ กล้ามเนื้อขาวขุ่น บริเวณป้องสุดท้ายติดกับแพนหาง กุ้งบางตัวจะมีกล้ามเนื้อเป็นสีส้ม มีอัตราการตายสูงถึง 70%
▪️การระบาดของโรค พ่อแม่พันธุ์ (แต่ยังไม่แน่ชัด) พาหะ น้ำ
▪️การรักษา ยังไม่พบวิธีการรักษาที่แน่นอน แต่สามารถป้องกันได้




1.3) โรคหัวเหลือง

▪️สาเหตุของโรคเชื้อไวรัส Yellow Head Virus (YHV) ชนิด SS RNA

▪️อาการลำตัวซีด บริเวณส่วนหัวมีสีเหลืองชัดเจน(ตับและตับอ่อน) เกยขอบบ่อ กินอาหารเพิ่มผิดปกติ หลังจากนั้นจะเริ่มลดลง มีอัตราการตายสูงถึง 100% ภายใน 3-5 วัน
▪️การระบาดของโรค พ่อแม่พันธุ์ พาหะ น้ำ
▪️การรักษา ยังไม่พบวิธีการรักษาที่แน่นอน แต่สามารถป้องกันได้




1.4 โรคทอร่า

▪️สาเหตุของโรคเชื้อไวรัส Taura Syndrome Virus ชนิด RNA ชื่อ TSV
▪️อาการ พบ 3 ระยะ ได้แก่..
1.ระยะรุนแรงมีสีแดงเข้มที่เปลือกกุ้ง โดยเฉพาะบริเวณแพนหาง และรยางอื่นๆ บริเวณหางมีสีแดงเข้มกว่าปกติ ลำตัวมีสีแดง ลอกคราบแล้วนิ่มตาย
2.ระยะฟื้นตัว กุ้งที่รอดตายจากการติดเชื้อ tara จะมีรอยแผลสีดำที่เปลือก
3.ระยะเรื้อรังกุ้งลอกคราบเสร็จไม่พบจุดสีดำแต่กุ้งเป็นพาหะนำโรค
▪️การระบาดของโรค พ่อแม่พันธุ์ พาหะ น้ำ
▪️การรักษา ยังไม่พบวิธีการรักษาที่แน่นอน แต่สามารถป้องกันได้




1.5 โรคไวรัสเอ็มบีวี

▪️สาเหตุของโรคเชื้อไวรัส Monodon Baculovirus (MBV)
▪️การระบาดของโรค พ่อแม่พันธุ์ พาหะ น้ำ
▪️การรักษา ยังไม่พบวิธีการรักษาที่แน่นอน แต่สามารถป้องกันได้




1.6 โรคแคระแกร็น

▪️สาเหตุของโรคเชื้อไวรัส Infectious Hepatopancreatic Hemopoietic Necrosis Virus  (IHHNV)  DNA
▪️อาการ กุ้งแคระแกร็น โตช้า ตัวคดงอ
▪️การระบาดของโรค พ่อแม่พันธุ์ พาหะ น้ำ
▪️การรักษา ยังไม่พบวิธีการรักษาที่แน่นอน แต่สามารถป้องกันได้




2.  โรคที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย

    2.1  โรคเรืองแสง
▪️สาเหตุของโรค เชื้อแบคทีเรีย Vibrio Harveyi
▪️อาการ เรืองแสงในเวลากลางคืน ลอยขอบบ่อ พบการตายสูงในกุ้งวัยอ่อนถึงวัยรุ่น กินอาหารลดลง
▪️การระบาดของโรค คุณภาพน้ำไม่ดี พื้นบ่อเน่าเสีย เหมาะกับการเจริญเติบโตของเชื้อโรค
▪️การรักษา ใส่ยาฆ่าเชื้อในบ่อ ใช้ยาปฏิชีวนะที่กรมประมงกำหนดผสมอาหารให้กินดูแลคุณภาพน้ำและพื้นบ่อให้ดีสม่ำเสมอ
(การใช้ยาปฎิชีวนะมีทั้งประโยชน์และโทษเพราะมีสารพิษตกค้าง เป็นอันตรายต่อผู้ใช้,ต่อผู้บริโภค)


         
          

2.2  โรควิบริโอ
▪️สาเหตุของโรค เชื้อแบคทีเรียกลุ่ม Vibrio  ได้แก่ V.harveye, V.parahaemolyticus, V.alginolyticus
▪️อาการ ตับอักเสบ ซีด เหลืองโต หางกร่อน กินอาหารลดลง ทยอยตาย
▪️การระบาดของโรค คุณภาพน้ำไม่ดี พื้นบ่อเน่าเสีย เหมาะกับการเจริญเติบโตของเชื้อโรค
▪️การรักษา ใส่ยาฆ่าเชื้อในบ่อ ใช้ยาปฏิชีวนะที่กรมประมงกำหนดผสมอาหารให้กินดูแลคุณภาพน้ำและพื้นบ่อให้ดีสม่ำเสมอ
(การใช้ยาปฎิชีวนะมีทั้งประโยชน์ และโทษเพราะมีสารพิษตกค้างตัวกุ้ง,พื้นบ่อ เป็นอันตรายต่อผู้ใช้,ต่อผู้บริโภค)



2.3  โรคขี้ขาว

▪️สาเหตุของโรค เชื้อแบคทีเรียกลุ่ม Vibrio
อาการ กินอาหารลดลง ตัวหลวมกรอบแกรบ โตช้าแตกไซด์ มีขี้ขาวลอยให้เห็นเป็นจำนวนมากบริเวณผิวน้ำ
▪️การระบาดของโรค คุณภาพไม่ดี พื้นบ่อเน่าเสีย เหมาะกับการเจริญเติบโตของเชื้อโรค
▪️การรักษา ดูแลคุณภาพน้ำและพื้นบ่อให้ดีสม่ำเสมอ ใส่จุลินทรีย์ปรับสภาพน้ำเป็นประจำ ใช้ไคโตซานผสมอาหารให้กุ้งกินเป็นประจำทุกวัน
▪️การรักษา ใส่ยาฆ่าเชื้อในบ่อ ใช้ยาปฏิชีวนะที่กรมประมงกำหนดผสมอาหารให้กิน ดูแลคุณภาพน้ำและพื้นบ่อให้ดีสม่ำเสมอ
(การใช้ยาปฎิชีวนะมีทั้งประโยชน์ และโทษเพราะมีสารพิษตกค้างตัวกุ้ง,พื้นบ่อ เป็นอันตรายต่อผู้ใช้,ต่อผู้บริโภค)




2.4  โรค EMS

▪️สาเหตุของโรค เชื้อแบคทีเรียกลุ่ม Vibrio
▪️อาการ กุ้งสีซีด ตัวขาวขุ่น เปลือกนิ่ม ตับฝ่อ
▪️การระบาดของโรค คุณภาพน้ำไม่ดี พื้นบ่อเน่าเสีย เหมาะกับการเจริญเติบโตของเชื้อโรค
▪️การรักษา เนื่องจากเกิดการตายอย่างรวดเร็วจึงไม่สามารถรักษาทัน แต่ป้องกันได้




3.  โรคที่เกิดจากปรสิตภายในและภายนอก

3.1)  ปรสิตภายนอก ซูโอแทมเนียม (Zoothamnium  sp.)

▪️สาเหตุของโรค ปรสิตภายนอก ซูโอแทมเนียม
▪️อาการ เกิดจากการเกาะทำลายของปรสิตภายนอก ซูโอแทมเนียม ที่บริเวณเหงือกและลำตัวกุ้ง ทำให้เหงือกเป็นสีน้ำตาล หรือ ดำ ถ้าเป็นมากลำตัวกุ้งจะสกปรกคล้ายโคลนเกาะ ลอกคราบไม่ออก บางครั้งพบกุ้งตาย
▪️การระบาดของโรค คุณภาพน้ำไม่ดี พื้นบ่อเน่าเสีย เหมาะกับการเจริญเติบโตของเชื้อโรค
▪️การรักษา ใช้ยากำจัดซู ฟอกน้ำ ฟอกเหงือก  ฟอกตัวกุ้ง



3.2)  ปรสิตภายในหรือพยาธิ  กรีการีน (Gregarines)
▪️สาเหตุของโรค กรีการีนในทางเดินอาหาร
อาการ กินอาหารลดลง กุ้งโตช้า
▪️การรักษา ใช้สารสกัดกระเทียมผสมอาหารให้กินเป็นประจำ

เครดิต:
เรียบเรียงโดย  ขวัญเรือน  สุวรรณรัตน์
เอกสารอ้างอิง:
นิตยสาร สัตว์น้ำ. เล่มที่ 348(6) สิงหาคม 2561. ISSN 0858-2386.

"ธรรมชาติบำบัดไม่ทัน ฟาร์มOKบำบัดแทนได้" คลิ๊กเลย>>>https://farmokl2512.blogspot.com/2021/11/ok.html

ขอบคุณรีวิวแชร์...[CR] [CR]แชร์วิธีกำจัดโรคขี้ขาวในกุ้งขาวจนหาย จับบ่อเดียว 5 ตัน 7 แสนบาท
คลิ๊กเลย>>>https://m.pantip.com/topic/37901451

"คอนเฟริม์ จบทุกปัญหาบ่อกุ้งโรคระบาด" https://farmokl2512.blogspot.com/2019/02/ok.html?m=1<<<คลิกเลย

"เลี้ยงกุ้งง่ายๆจบทุกปัญหาการเลี้ยงกุ้ง" https://farmokl2512.blogspot.com/2019/01/blog-post.html?m=1>>>คลิ๊กเลย

"พิชิตกุ้งขี้ขาว คอนเฟริม์ ขี้ขาวหายชัวร์ ขี้ขาวหายจริงๆ" https://farmokl2512.blogspot.com/2018/12/blog-post.html?m=1>>>คลิ๊กเลย

"แก้ขี้ขาวหายชัวร์"คอนเฟริม์"กุ้งเป็นโรคขี้ขาวใช้แล้วหายชัวร์พื้นที่จังหวัดสงขลา"
https://farmokl2512.blogspot.com/2018/09/ok.html?m=1>>>คลิ๊กเลย

#รีวิวการันตีจากชาวบ่อเยอะ
#รีวิวจากยอดขายล้านลิตร
#รีวิวจากลูกค้าใช้งานจริง
#รีวิวจากยอดขายที่ขายจริง
#รีวิวแน่นดูได้ที่นี่... https://farmokl2512.blogspot.com/2018/09/2538-2544-2548-340000-32000-ok-ems-ok.html?m=1

"โรคEHP-SHIV โรคระบาดในกุ้ง" https://farmokl2512.blogspot.com/2019/05/ehp-shiv.html?m=1>>>คลิ๊กเลย

"ฟาร์มOK มีประโยชน์ต่อการเลี้ยงกุ้งอย่างไร" https://farmokl2512.blogspot.com/2019/05/ok.html?m=1>>>คลิ๊กเลย

"เลี้ยงกุ้งได้ ปลอดโรค รู้เขา รู้เรา เลี้ยงกุ้งง่าย ได้กำไรทุกค๊อบ ไม่เสียเวลา-พื้นที่" https://farmokl2512.blogspot.com/2019/05/ok_16.html?m=1>>>คลิ๊กเลย

"ปัจจุบัน.ไคโตซานฟาร์มOKได้มีการนำมาในการเพาะเลี้ยงกุ้งและสัตว์น้ำอย่างแพร่หลาย และมีการพัฒนาการใช้งานให้กว้างขวางแก่สัตว์น้ำทั่วทุกภาคส่วนทุกพื้นที่ทั่วไทย" https://farmokl2512.blogspot.com/2019/11/blog-post_11.html?m=1>>>คลิ๊กเลย

อนุญาตแชร์แบ่งปันความรู้ไปตามกลุ่มคนเลี้ยงกุ้ง เกษตรอินทรีย์ การเกษตรทุกชนิด
https://line.me/ti/p/uQxRrrOn0t
_______________________________
#กุ้งขี้ขาว #โรคตัวแดงดวงขาว #โรคกุ้งEHP-SHIV #กุ้งEMS #โรคธอร่า #โรคกุ้งระบาด #กุ้งตะกอนเข้าเหงือก #กุ้งแคระแกรน #กุ้งตัวลีบผอม #กุ้งกิ๊กโก๋หัวโตหางลีบ #พีเอชแกว่ง #จุลินทรีย์ #น้ำเน่าเสีย #แพลงตอนบลูม #ไนไตรท์ขึ้น #แอมโมเนียสูง #น้ำหนืด #น้ำขุ่นตะกอน #ไคโตซานฟาร์มOK #ฟาร์มOK #ไคโตซาน


วันจันทร์ที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564

ธรรมชาติบำบัดน้ำไม่ทัน ฟาร์มOKบำบัดแทนได้



ข้อควรระวัง!! ช่วงปลายฝนต้นหนาว


ย่างเข้าสู่ช่วงปลายฝนต้นหนาวอีกแล้ว ปีนี้นั้นเป็นอีกปีหนึ่งที่ประเทศไทยเจอกับฝนมากตลอดปี ในช่วงที่มีฝนตกติดต่อกันมากๆคุณหภูมิลดต่ำลง เรียกได้ว่าเกษตรกรต้องเจอกันหนักกับสภาพอากาศที่ค่อนข้างแปรปรวน สภาพอากาศถือเป็นปัจจัยที่สำคัญ และมีผลต่อการเลี้ยงกุ้งเป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้วว่าสภาพอากาศนั้นส่งผลต่อกุ้งโดยตรง นั่นคืออุณหภูมิที่มีการเปลี่ยนแปลงขึ้นลง จะส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของน้ำ สำหรับกุ้งที่เป็นสัตว์เลือดเย็นก็จะมีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิร่างกายตามสภาพแวดล้อมนั่นเอง ซึ่งการปรับตัวไปตามสภาพแวดล้อมย่อมส่งผลให้กุ้งอ่อนแอ และมีโอกาสติดเชื้อโรคง่ายขึ้น สำหรับปัญหาเรื่องโรคที่มักพบในช่วงอากาศหนาวก็คงไม่พ้นโรคจากตัวแดงดวงขาว นอกจากปัญหาเรื่องโรคไวรัสแล้วนั้น แบคทีเรียก็ยังคงเป็นอีกหนึ่งปัญหาที่พบได้ถึงแม้นว่าจะไม่หนักเท่าในช่วงอากาศร้อนก็ตาม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง โรคขี้ขาว

การเลี้ยงกุ้งในช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลงฤดูกาลผู้เลี้ยงที่มีความพร้อมมักจะได้เปรียบเสมอ ไม่ว่าจะเป็นในด้านการจัดการระบบการเลี้ยง การเตรียมน้ำ เตรียมบ่อเลี้ยง การให้อาหาร รวมทั้งการคัดเลือกลูกพันธุ์ที่มีคุณภาพ

สำหรับฤดูที่ใกล้จะเข้ามาถึงช่วงฤดูหนาว กุ้งมักจะเป็นโรคหนาว มีการระบาดของโรคตัวแดงดวงขาวนั่นเอง นอกจากปัญหาเรื่องของโรคระบาดแล้วนั้น อุณหภูมิที่ลดต่ำลงก็จะส่งผลต่อการกินอาหารของกุ้งอีกเช่นกัน ซึ่งได้มีรายงานการทดลองในเรื่องของผลของอุณหภูมิต่อการกินอาหารของกุ้ง พบว่ากุ้งที่เลี้ยงในน้ำที่มีอุณหภูมิ 33 OC กินอาหารมากกว่ากุ้งที่เลี้ยงน้ำที่มีอุณหภูมิ 29 OC (ชะลอและคณะ, 2553)ดังนั้นในช่วงที่อุณหภูมิลดลง หากผู้เลี้ยงละเลยในการเช็คปริมาณอาหารที่ให้ในแต่ละวันอาจจะเกิดปัญหาตามมาได้

เนื่องจากอุณหภูมิลดลงส่งผลการเปลี่ยนแปลงฤดูกาลปลายฤดูฝนเข้าสู่หนาวนั้นอุณหภูมิก็จะลดต่ำลงส่งผลให้อุณหภูมิของน้ำลดต่ำลงด้วย กุ้งก็จะกินอาหารลดลง แต่ถ้าผู้เลี้ยงยังให้อาหารในปริมาณปกติก็จะทำให้เกิดอาหารเหลือมากขึ้นนั่นเอง อาหารที่เหลือนั้นมักจะส่งผลให้เกิดของเสียสะสมในบ่อเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะในรูปของอินทรีย์สารซึ่งหากมีปริมาณมากจนเกินไปในบ่อนอกจากจะมีการเปลี่ยนแปลงไปเป็นสารประกอบที่เป็นพิษกับกุ้ง ในรูปแบบของแอมโมเนีย และไนไตรท์แล้วยังกลายเป็นแหล่งอาหารของแบคทีเรียที่ก่อโรคอีกด้วย บ่อไหนที่ของเสียปริมาณสารอินทรีย์มาก เมื่อนำน้ำและเลนมาตรวจก็มักจะพบว่า พบเชื้อแบคทีเรียที่เป็นอันตรายต่อกุ้งเป็นจำนวนมากโดยเฉพาะเชื้อแบคทีเรียวิบริโอ ขี้ขาว จะเห็นว่าถ้าหากผู้เลี้ยงไม่ให้ความใส่ใจในการดูแลกุ้งในช่วงนี้นั้น ก็จะทำให้ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไวรัสและแบคทีเรีย

สำหรับวิธีการจัดการสารอินทรีย์หรือของเสียในบ่อ นอกจากการดูดเลน การควบคุมปริมาณอาหารที่ให้อย่างเหมาะสมไม่ให้เหลือทิ้งตกค้าง ก็จะเป็นการจัดการที่ต้นตอของสารอินทรีย์ที่จะเกิดขึ้นในบ่อ แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นผู้เลี้ยงต้องใส่ใจในการเช็คปริมาณอาหารให้เพียงพอกับความต้องการของกุ้งด้วย นอกจากนั้นการใช้จุลินทรีย์เพื่อย่อยสลายของเสียพื้นบ่อเลี้ยงก็เป็นอีกตัวช่วยหนึ่งในการกำจัดของเสียระหว่างเลี้ยง การเลือกใช้วิธีการใดๆก็ตามในการกำจัดของเสีย ผู้เลี้ยงเองต้องทำความเข้าใจศึกษาข้อมูลในการใช้ และนำไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับสภาพของบ่อของตนเอง เพื่อให้เกิดประโยชน์และมีประสิทธิภาพสูงสุด สำหรับการเลี้ยงกุ้งในช่วงหนาวที่จะถึงนี้ การเตรียมบ่อให้ดี การตรวจเช็คสุขภาพกุ้งในบ่อสม่ำเสมอ การเสริมบำรุง และกระตุ้นภูมิคุ้มกันให้กุ้งแข็งแรงรวมทั้งการดูแลและจัดการปัญหาของเสียหรือสารอินทรีย์ส่วนเกินในบ่อได้ การเลี้ยงกุ้งในช่วงหนาวนี้ก็คงจะไม่ยากอีกต่อไปหากมีตัวช่วยที่ดี https://line.me/ti/p/uQxRrrOn0t เครดิต:Google


❇️ขอบคุณรีวิวแชร์...[CR] [CR]แชร์วิธีกำจัดโรคขี้ขาวในกุ้งขาวจนหาย จับบ่อเดียว 5 ตัน 7 แสนบาท
คลิ๊กเลย>>>https://m.pantip.com/topic/37901451

❇️"คอนเฟริม์ จบทุกปัญหาบ่อกุ้งโรคระบาด" https://farmokl2512.blogspot.com/2019/02/ok.html?m=1<<<คลิกเลย

❇️"เลี้ยงกุ้งง่ายๆจบทุกปัญหาการเลี้ยงกุ้ง" https://farmokl2512.blogspot.com/2019/01/blog-post.html?m=1>>>คลิ๊กเลย

❇️"พิชิตกุ้งขี้ขาว คอนเฟริม์ ขี้ขาวหายชัวร์ ขี้ขาวหายจริงๆ" https://farmokl2512.blogspot.com/2018/12/blog-post.html?m=1>>>คลิ๊กเลย

❇️"แก้ขี้ขาวหายชัวร์"คอนเฟริม์"กุ้งเป็นโรคขี้ขาวใช้แล้วหายชัวร์พื้นที่จังหวัดสงขลา"
https://farmokl2512.blogspot.com/2018/09/ok.html?m=1>>>คลิ๊กเลย

❇️#รีวิวการันตีจากชาวบ่อเยอะ
#รีวิวจากยอดขายล้านลิตร
#รีวิวจากลูกค้าใช้งานจริง
#รีวิวจากยอดขายที่ขายจริง
#รีวิวแน่นดูได้ที่นี่... https://farmokl2512.blogspot.com/2018/09/2538-2544-2548-340000-32000-ok-ems-ok.html?m=1

❇️"โรคEHP-SHIV โรคระบาดในกุ้ง" https://farmokl2512.blogspot.com/2019/05/ehp-shiv.html?m=1>>>คลิ๊กเลย

❇️"ฟาร์มOK มีประโยชน์ต่อการเลี้ยงกุ้งอย่างไร" https://farmokl2512.blogspot.com/2019/05/ok.html?m=1>>>คลิ๊กเลย

❇️"เลี้ยงกุ้งได้ ปลอดโรค รู้เขา รู้เรา เลี้ยงกุ้งง่าย ได้กำไรทุกค๊อบ ไม่เสียเวลา-พื้นที่" https://farmokl2512.blogspot.com/2019/05/ok_16.html?m=1>>>คลิ๊กเลย

❇️"ปัจจุบัน.ไคโตซานฟาร์มOKได้มีการนำมาในการเพาะเลี้ยงกุ้งและสัตว์น้ำอย่างแพร่หลาย และมีการพัฒนาการใช้งานให้กว้างขวางแก่สัตว์น้ำทั่วทุกภาคส่วนทุกพื้นที่ทั่วไทย" https://farmokl2512.blogspot.com/2019/11/blog-post_11.html?m=1>>>คลิ๊กเลย

อนุญาตแชร์แบ่งปันความรู้ไปตามกลุ่มคนเลี้ยงกุ้ง เกษตรอินทรีย์ การเกษตรทุกชนิด
______________________________
#เกษตรกรรม #กุ้งขี้ขาว #โรคตัวแดงดวงขาว #โรคกุ้งEHP-SHIV #กุ้งEMS #โรคธอร่า #โรคกุ้งระบาด #กุ้งตะกอนเข้าเหงือก #กุ้งแคระแกรน #กุ้งตัวลีบผอม #กุ้งกิ๊กโก๋หัวโตหางลีบ #เกษตรอินทรีย์ #ออแกนิก #การเกษตรทุกชนิด #เลี้ยงสัตว์ #ไคโตซาน #ฟาร์มOK #ไคโตซานฟาร์มOK #healthfoods #แม่ค้าขายออนไลน์ #จุลินทรีย์ #น้ำเสีย #แพลงตอนบลูม #ไนไตรท์ขึ้น #แอมโมเนีย #น้ำหนืด #น้ำขุ่น











_____________________________


วันพฤหัสบดีที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563

ไคโตซานฟาร์มOKจุลินทรีย์แก้ปัญหาในบ่อเลี้ยงกุ้ง,บ่อเลี้ยงปลา และสัตว์น้ำทุกชนิด


การใช้จุลินทรีย์ในบ่อเลี้ยงกุ้ง,บ่อเลี้ยงปลา และสัตว์น้ำทุกชนิด


บ่อเลี้ยงปลา


เกษตรกรที่เลี้ยงปลาส่วนมากจะมีปัญหาในเรื่องน้ำในบ่อเลี้ยงปลาเกิดการเน่าเสีย เมื่อน้ำเน่าเสียเกิดขึ้น นั่นหมายถึงปริมาณออกซิเจนในน้ำลดลง จนอาจไม่มีออกซิเจนให้ปลาในน้ำหายใจ ซึ่งอาจทำให้ปลาตายยกบ่อได้ง่ายๆภายในไม่กี่วัน ปัญหาการเน่าเสียของน้ำในบ่อเลี้ยงปลา ส่วนใหญ่มาจากการให้อาหารปลาและการถ่ายเทมูลของปลาเอง ถึงแม้อาหารที่ใช้เลี้ยงปลาส่วนมากจะถูกปลากิน แต่จะมีบางส่วนตกลงก้นบ่อและจมลงไปในโคลนก้นบ่อ ทำให้เกิดการเน่าเสียขึ้น และอีกส่วนหนึ่งเกิดจากความหนาแน่นของปลาที่เลี้ยง ซึ่งส่วนมากจะใช้สารเคมีแก้ไข อันนำไปสู่การตกค้างของสารเคมีไปสู่สิ่งแวดล้อมและผู้บริโภคได้ บ่อเลี้ยงปลามีทั้งประเภททำเป็นอาชีพ คือเลี้ยงปลาเพื่อการพาณิชย์ และเลี้ยงปลาในบริเวณบ้าน เช่น ปลาคร้าฟ ปลาสวยงามต่างๆ น้ำเสียก็เกิดขึ้นตลอดเวลา ต้องมีการเติมออกซิเจนและถ่ายเทน้ำเสียบ่อยๆ เพื่อให้ปลามีสุขภาพที่ดี การเก็บน้ำเสียไว้นานๆในบ่อเลี้ยงปลาอาจทำให้ปลาติดเชื้อยกบ่อได้

บ่อเลี้ยงกุ้ง

ผู้ที่เลี้ยงกุ้งจะมีปัญหามากกว่าผู้เลี้ยงปลา การเลี้ยงกุ้งจะเลี้ยงได้ยากกว่าการเลี้ยงปลา เหตุเพราะกุ้งจะอ่อนไหวตายง่ายกว่าปลา มีปัญหาเพียงเล็กน้อยกุ้งก็อาจตายได้ การลงทุนเลี้ยงกุ้งนั้นใช้งบประมาณค่อนข้างสูง ซึ่งปัญหาที่พบมากก็หนีไม่พ้นเรื่องน้ำเน่าเสีย เช่นเดียวกับปลา แต่ปลาจะทนทานกว่ากุ้ง ดังนั้นถ้าเกิดน้ำเน่าเสียต้องรีบแก้ไขให้รวดเร็ว ปัญหาน้ำเน่าเสียก็มาจากสาเหตุที่คล้ายๆ กัน คือ อาหารกุ้ง ซึ่งมีบางส่วนที่กุ้งกินไม่หมดแล้วตกลงก้นบ่อ ทำให้เกิดการเน่าเสีย มีผลทำให้น้ำโดยรวมเน่าเสียตามไปด้วย กระทบกับปริมาณออกซิเจนที่กุ้งใช้หายใจ ทำให้การเจริญเติบโตหยุดชะงัก ทำให้เกิดเป็นปัญหาโรคกุ้ง สร้างความเสียหายให้เกษตรกร


การใช้จุลินทรีย์ในบ่อเลี้ยงกุ้งและบ่อเลี้ยงปลา สัตว์น้ำทุกชนิด


น้ำเน่าเสียในบ่อเลี้ยงกุ้งและบ่อเลี้ยงปลาเกิดจากจุลินทรีย์อีกกลุ่มหนึ่งเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่ย่อยสลายไม่สมบูรณ์จึงก่อให้เกิดของเสียเกิดขึ้น ดังนั้นการแก้ไขปัญหาที่ตรงจุดก็คือ การนำจุลินทรีย์กลุ่มที่มีประสิทธิภาพสูงเข้าไปย่อยสลายแทนที่ เพื่อให้ของเสียจากอาหารสัตว์และอื่นๆถูกย่อยสลายโดยสมบูรณ์ ดังนั้นน้ำที่เสียอยู่ก็จะกลับกลายเป็นน้ำดี มีออกซิเจนสูงตามปกติ ซึ่งจะมีผลทำให้สุขภาพปลาและกุ้งที่เลี้ยงดีไปด้วย การเจริญเติบโตก็เป็นไปอย่างรวดเร็ว และไม่สร้างมลภาวะให้สิ่งแวดล้อม ไม่มีสารเคมีตกค้างในสัตว์เลี้ยงและพื้นดินในบ่อ ผู้บริโภคปลาและกุ้งปลอดภัย

การใช้จุลินทรีย์ต่อครั้ง


ทั้งบ่อเลี้ยงกุ้งและบ่อเลี้ยงปลา การใช้จุลินทรีย์จะใช้เหมือนกัน ให้ใช้อาทิตย์ละ 1 ครั้ง ใช้จุลินทรีย์ในปริมาณ 1 ลิตร/ต่อพื้นที่บ่อเลี้ยงกุ้งหรือบ่อเลี้ยงปลา 1 ไร่/ลึก 1 เมตร ความถี่ในการใช้ อาทิตย์ละ 1 ครั้ง ใช้ไปจนกว่าจะจับกุ้ง+จับปลาได้ทั้งหมด การใช้ให้เทไคโตซานฟาร์มOKซึ่งเป็นจุลินทรีย์ผสมกับน้ำสะอาดในอัตราส่วน 1 ต่อ 1 แล้วตักสาดกระจายไปทั่วๆน้ำในบ่อ ช่วงเวลาการใช้ ควรใช้ฟาร์มOKจุลินทรีย์ในช่วงเวลาใดก็ได้ ไม่จำกัดเวลาใช้ สามารถใช้ได้ตลอดเวลาหรือเจอปัญหาระหว่างเลี้ยง

*ไคโตซานฟาร์มOKนาโนเทค ไคโตซานเพียว100% อาหารเสริมสัตว์ เร่งการเจริญเติบโตของสัตว์ และช่วยยับยั้งเชื้อรา ไวรัส แบคทีเรีย ปรสิต เป็นสารสกัดจากธรรมชาติสะอาด
เหมาะสำหรับสัตว์ทุกชนิด
* นวัตกรรมไคโตซานจากประเทศญี่ปุ่น
* ไคโตซานไม่ผสมสารเคมี
* ไคโตซานเป็นสายพันธุ์สั้น
* ไคโตซานเข้มข้นกว่าเท่าตัว
* ไคโตซานไม่ใช่ปุ๋ย
* ไคโตซานไม่ใช่ยาปฎิชีวนะ
* ลดต้นทุน ช่วยเพิ่มผลผลิต
* ลดระยะการเลี้ยง
* ช่วยย่อยสลายของเสีย
* ปรับค่าPHของน้ำสมดุลคงที่
* ผสมเคลือบเม็ดอาหาร
* ช่วยสร้างเปลือกเร็ว
* ลอกคราบง่าย
* ปลดปล่อยไนโตเจน
* เพิ่มอ๊อกซิเจนในน้ำ
ช่วยลดโลกร้อน รักษาสิ่งแวดล้อม ดูแลธรรมชาติ


หมายเหตุ: ข้อควรระวัง

จุลินทรีย์ที่ใช้ในบ่อเลี้ยงกุ้งหรือบ่อเลี้ยงปลาต้องมาจากการสังเคราะห์จากหัวเชื้อจุลินทรีย์เท่านั้น ไม่ควรนำน้ำหมักชีวภาพที่ได้จากการหมักพืชผักทั่วไปใช้กับบ่อเลี้ยงกุ้ง เพราะอาจจะทำให้น้ำเสียมากขึ้น กุ้งและปลาตายได้ง่ายๆ มันมีวิธีและเคล็ดลับในการใช้ ใช้ไม่เป็นก็ไม่เกิดประโยชน์ใดๆหรือเกิดประโยชน์น้อย แต่ถ้าใช้เป็นและใช้ถึง ประโยชน์จะมากมายมหาศาล
แนะนำ... : ให้ใช้ไคโตซานฟาร์มOKซึ่งเป็นจุลินทรีย์แกรมบวกย่อยสลายของเสีย แก้ปัญหาน้ำเน่าเหม็น กำจัดกลิ่นเหม็นรุนแรง แก้ปัญหาตรงจุดได้ผลดี โดยที่เกษตรกรไม่ต้องมาหมักน้ำจุลินทรีย์ชีวะภาพให้เสียเวลา เอาเวลาที่เหลือไปทำประโยชน์อย่างอื่น หรือพักผ่อนบ้างเพื่อสุขภาพของตัวเกษตรกรเอง
จะเชื่อหรือไม่เชื่อเป็นเรื่องของแต่ละบุคคลหรือนานาจิตตัง ถ้าเกษตรกรยอมที่จะสูญเสียประโยชน์ต่อไป ก็เป็นเรื่องของเกษตรกร ไม่เกี่ยวกับเราใดๆทั้งสิ้น เราเพียงเป็นผู้แนะนำในทางที่เกิดประโยชน์เท่านั้น ผลประโยชน์เป็นของเกษตรกรล้วนๆ



ลูกค้าเกษตรกรเลี้ยงกุ้งและเลี้ยงปลา พอใจในการใช้งานถึง 90%


🛵* ปัจจุบัน.ไคโตซานฟาร์มOKได้มีการนำมาในการเพาะเลี้ยงกุ้งและสัตว์น้ำอย่างแพร่หลาย ณ.ตอนนี้กำลังโกลด์อินเตอร์ และมีการพัฒนาการใช้งานให้กว้างขวางแก่สัตว์น้ำทั่วทุกภาคส่วนทุกพื้นที่ทั่วไทย https://farmokl2512.blogspot.com/2019/11/blog-post_11.html?m=1>>>คลิ๊กเลย
...................................
🌿🍁🌾สนใจสั่งซื้อ - สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม จัดส่งฟรีทั่วประเทศ
✍ส่งข้อความและโทรฟรีด้วย 🆔️LINE 0620135665
https://line.me/ti/p/hJ7AGHjAZZ<<< คลิ๊กเลย
..................................








ขอบคุณ
เคดิต : http://www.bangkokshow.com/


#กุ้งขี้ขาว #กุ้งขาวแวนาไม #กุ้งกุลาดำ #กุ้งก้ามกราม #บำบัดน้ำเสีย #จุลินทรีย์ชีวะภาพ #กำจัดกลิ่นเหม็นรุนแรง #โรคกุ้งระบาด #กุ้งป่วย #พันธุ์ลูกกุ้ง


โรคจุดขาวในกุ้งขาวแวนาไม มีทางรักษาให้หายได้


โรคจุดขาวในกุ้งขาวแวนาไม มีทางรักษาหายได้(White spot disease, WSD)

โรคจุดขาว หรือเรียกว่า โรคตัวแดงดวงขาวในกุ้งขาวแวนาไม มีสาเหตุจากการติดเชื้อไวรัส (White spot syndrome virus, WSSV) โดยพบรอยโรค (lesion) เป็นจุดขาวหรือดวงขาวใต้เปลือกส่วนหัวและโคนหาง บางครั้งมีลักษณะตัวแดงร่วมด้วย และทำให้กุ้งตายได้เป็นโรคระบาดที่อยู่ในบัญชีโรคสัตว์น้ำขององค์การโรคระบาดสัตว์ระหว่างประเทศ และอยู่ในกฎกระทรวง พ.ศ. 2548 ภายใต้พระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว์ พ.ศ.2499 โรคนี้เกิดจากกุ้งติดเชื้อ WSSV ซึ่งมีสารพันธุกรรมเป็น DNA สายคู่ (dsDNA) ขนาด 305 kbp อยู่ในวงศ์ Nimaviridae สกุล Whispovirus ไวรัสมีรูปร่างเป็นแท่งจนถึงรูปไข่ ขนาด 80 - 120 x 250 - 380 นาโนเมตร มีผนังหุ้ม (envelope) มีรายงานการตรวจพบโรคนี้ในกุ้ง Penaeus monodon (กุ้งกุลาดำ), P. vannamei (กุ้งขาว), P japonicus, P. chinensis, P. indicus, P. merguiensis, P. setiferus และ P. stylirostris นอกจากนี้ยังพบได้ในปูหลายชนิด จากการทดลองพบว่าเชื้อ WSSV สามารถทำให้กุ้ง P. articus, P. duodarum และ P. setiferus ตายได้ การระบาดของโรคจุดขาวมีรายงานเป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2536 ในฟาร์มเพาะเลี้ยงกุ้ง P. japonicus แห่งหนึ่ง ที่ประเทศญี่ปุ่น หลังจากนั้นโรคได้แพร่ระบาดไปยังประเทศต่างๆ ในทวีปเอเชีย ได้แก่ จีน เกาหลีใต้ อินเดีย ฟิลิปปินส์ เป็นต้น รวมทั้งประเทศในทวีปอเมริกา โดยเรียกชื่อไวรัสนี้แตกต่างกันไป สำหรับประเทศไทยมีรายงานการพบโรคจุดขาวครั้งแรก เมื่อปี พ.ศ. 2537 ที่ จ. ตรัง และเรียกไวรัสนี้ว่า systemic ectodermal and mesodermal baculovirus (SEMBV)

เมื่อกุ้งติดเชื้อ WSSV เชื้อจะทำลายเนื้อเยื่อที่มีต้นกำเนิดจากเอ็กโทเดิร์มและเมโซเดิร์ม เช่น เยื่อบุผิวชั้นใต้เปลือก (cuticular epithelium) เยื่อบุทางเดินอาหาร เหงือก หัวใจ เนื้อเยื่อประสาท กล้ามเนื้อ และอวัยวะสร้างเม็ดเลือด ทำให้นิวเคลียสใหญ่ (hypertrophied nuclei) จนเต็มหรือเกือบเต็มเซลล์ ที่เรียกว่า Cowdry type A inclusion กุ้งสามารถติดโรคจุดขาวได้โดยตรงจากกุ้งแม่พันธุ์โดยถ่ายทอดเชื้อผ่านทางไข่ นอกจากนี้กุ้งยังสามารถติดเชื้อ WSSV ที่แพร่มากับน้ำในบ่อเลี้ยง หรือกุ้งที่แข็งแรงกินกุ้งที่ติดเชื้อ (cannibalism) เข้าไป โรคนี้ติดต่อทางอ้อมได้โดยผ่านสัตว์พวกกุ้ง กั้ง ปู (crustacean) มากกว่า 40 ชนิด แม้ว่าขณะนี้ยังไม่มีรายงานที่แสดงกลไกการแพร่เชื้อที่ชัดเจน แต่พบว่ากุ้งปกติสามารถติดเชื้อจากกุ้งป่วยที่อยู่ร่วมกันได้ ภายใน 36 - 48 ชั่วโมง และจากสื่อนำโรคเชิงกล (mechanical vector) ที่นำเชื้อได้ พบในกุ้งติดเชื้อ WSSV จะแตกต่างกันไป ขึ้นกับอายุกุ้งและการจัดการฟาร์ม อย่างไรก็ดีความรุนแรงของการระบาดจะขึ้นอยู่กับปัจจัยที่กระตุ้นให้เกิดความเครียดอื่นๆ ด้วย เช่น คุณภาพน้ำไม่เหมาะสม กุ้งป่วยจะว่ายใกล้ผิวน้ำหรือเกาะที่ขอบบ่อ หากเปิดเปลือกส่วนหัวออกดูจะสังเกตเห็นจุดขาวได้ง่าย หลังจากเริ่มแสดงอาการแล้วกุ้งจะตายอย่างรวดเร็วภายในไม่กี่วัน อย่างไรก็ตาม จุดขาวที่เปลือกอาจเกิดจากสาเหตุอื่นได้ เช่น น้ำในบ่อมีความเป็นด่างสูง เชื้อแบคทีเรีย และสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปอาการป่วยมักพบในกุ้งระยะวัยรุ่นที่ติดเชื้อ ซึ่งมีได้ 3 แบบ คือ

1. แบบเฉียบพลัน
กุ้งที่ติดเชื้อจะป่วยและตายอย่างรวดเร็วภายใน 1 - 5 วัน หลังจากเริ่มแสดงอาการ อัตราการตายสะสมระหว่าง 80 - 100% มีรอยโรคจุดขาวหรือดวงขาว ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.5 - 2 มิลลิเมตร ที่ในเปลือก กุ้งอาจมีสีชมพูถึงแดง ไม่กินอาหาร ว่ายน้ำเชื่องช้า มักอยู่ใกล้ผิวน้ำหรือเกาะที่ขอบบ่อ

2. แบบกึ่งเฉียบพลัน
กุ้งที่ติดเชื้อจะทยอยป่วยและตายไปเรื่อยๆ มีระยะเวลาไม่แน่นอน ทั้งนี้ขึ้นกับคุณภาพน้ำและการจัดการฟาร์ม กุ้งอาจมีหรือไม่มีรอยโรคเป็นจุดขาว กินอาหารลดลง เคลื่อนไหวเชื่องช้า มีอัตราการตายสะสม 30 - 80% ตลอดระยะเวลาที่เลี้ยง

3. แบบเรื้อรัง
กุ้งที่ติดเชื้ออาจมีหรือไม่มีรอยโรคเป็นจุดขาว และไม่ตาย แพร่ระบาดตลอดเวลา

รูปภาพจากเนต

ปัญหาเหล่านี้!! เรามีตัวช่วยแก้ปัญหาบ่อเลี้ยงกุ้ง โดย การใช้ตามอัตราที่แนะนำตลอดการเลี้ยงจนถึงจับกุ้งขาย กุ้งจะไม่ป่วยระหว่างการเลี้ยงกุ้ง


‼#อัตราการใช้ ตั้งแต่เริ่มเตรียมบ่อเลี้ยง เพียง 4 ขั้นตอน ดังนี้

ฉีดพื้นบ่อเลี้ยงทุกครั้ง ตัดตอนสปอร์เชื้อโรคต่างๆที่อยู่ในดินพื้นบ่อเลี้ยง

‼ขั้นตอนที่ 1 ใช้ฉีดพ่นพื้นบ่อ 1 ไร่/ลึก 1 เมตร(1,600 ตรม.)ใช้ไคโตซานฟาร์มOK จำนวน 1 ลิตร/น้ำเปล่า 200 ลิตร ฉีดพ่นพื้นบ่อเพื่อฆ่าเชื้อโรคเชื้อไวรัสปรสิตเชื้อราแบคทีเรียที่ฝั่งตัวอยู่ใต้พื้นบ่อไม่ให้แตกตัวกระจายทำให้ฝ่อไปเอง แล้วตากบ่อทิ้งไว้ 7-10วันโดยประมาณ เพื่อให้ฟาร์มOKทำงานอย่างมีประสิทธิภาพได้ผลดีนั่นเอง..(ไม่ควรใจร้อนรีบเอาน้ำเข้า)



‼ขั้นตอนที่ 2 ปล่อยน้ำลงบ่อเลี้ยงให้เต็มที่(เลี้ยงระบบปิด) ใช้ไคโตซานฟาร์มOKจำนวน 1 ลิตร/ใช้กับพื้นที่บ่อเลี้ยง1ไร่/ลึก 1เมตร/ผสมน้ำเปล่าสาดลงในบ่อเลี้ยง เพื่อช่วยจับสารตะกอนแขวนลอยในมวลน้ำ ทำให้น้ำโปร่ง และช่วยปรับค่า PH ให้สมดุลคงที่ก่อนปล่อยกุ้ง ควรใช้อยู่เป็นประจำทุก 7 วัน และควรมีบ่อพักน้ำที่เป็นของเราเอง แล้วใช้ฟาร์มOKปรับฆ่าเชื้อในบ่อพักน้ำจากนั้นนำน้ำไปตรวจหาเชื้อที่กรมประมงให้เรียบร้อย ก่อนดูดเข้าบ่อเลี้ยง ป้องกันไว้ก่อนดีที่สุด..
(หมายเหตุ:ไม่ควรเติมน้ำจากข้างนอกเข้ามาในบ่อเลี้ยงเด็ดขาด หากเลี้ยงระบบปิดได้ควรเลี้ยงเพียงน้ำเดียว)


‼ขั้นตอนที่ 3 ก่อนปล่อยลูกกุ้งลงบ่อ ผสมน้ำลงในถัง 200 ลิตร ใส่ไคโตซานฟาร์มOK 100 ซีซี.ลงในถังลูกกุ้งปล่อยไว้ประมาณ 20 นาที เพื่อฆ่าเชื้อไวรัสแบคทีเรียที่ติดมากับลูกกุ้ง แล้วค่อยปล่อยลูกกุ้งลงสู่บ่อเลี้ยง ลดอัตราการสูญเสีย ลูกกุ้งจะแข็งแรง ลอกคราบเร็ว โตไว และไม่เครียด (ควรใช้ควบคู่ กับ ปูนแร่ธาตุที่ทำให้เปลือกแข็งเร็ว) เพราะฟาร์มOKมีสารไคตินเยอะม๊าก ช่วยกุ้งสะสมการสร้างเปลือกและลอกคราบง่าย กุ้งจะโตเร็วมาก


‼ขั้นตอนที่ 4 อัตราการใช้คลุกอาหารกุ้ง
ใช้ไคโตซานฟาร์มOKจำนวน 1 ลิตร + น้ำเปล่า 12 ลิตร + ผสมอาหารกุ้ง 100 กิโลกรัม ผสมคลุกเคล้าให้เข้ากันผึ่งให้แห้งพอดี (แนะนำให้ใช้ควบคู่ กับ สารเสริมบำรุงตับกุ้ง)
#วิธีใช้ ควรใช้ฟาร์มOKผสมกับน้ำเปล่าก่อนแล้วคลุกเคล้ากับอาหารให้เรียบร้อยก่อน หลังจากนั้นจึงค่อยใส่สารเสริมบำรุงตับกุ้งคลุกเคล้าตามอีกที ผสมคลุกเคล้าให้เข้ากันผึ่งให้แห้งพอดี (อย่าแห้งกรอบจนเกินไป) เก็บใส่กระสอบไว้ แล้วค่อยตักแบ่งไปให้กุ้งกินทุกมื้อทุกวันป้องกันกุ้งป่วย


‼ ช่วยให้กุ้งสร้างเปลือกได้เร็ว ,ช่วยให้กุ้งลอกคราบง่ายโตไว ,ช่วยแก้ปัญหาเปลือกหลวมผอมบางลีบ ,เหมาะสำหรับกุ้งที่ไม่ลอกคราบเลย ,กุ้งที่เปลือกเป็นแผลลอกคราบไม่ออก ,หรือเอาไปช่วยกุ้งที่เป็นขี้ขาวก็หาย,ใช้บำบัดน้ำเสียในบ่อพักก็ได้แก้ปัญหาแก๊สไข่เน่า,ไขมันเกาะ,สีสนิม,สลายน้ำมันเครื่อง,ช่วยกำจัดกลิ่นเหม็นรุนแรงของน้ำเน่าหรือมูลสัตว์ทุกชนิด


‼ ประกอบไปด้วย เช่น สารไคติน -ไคโตซาน จุลินทรีย์ แอดติโอมายซีส เชื้อราไตรโคเดอร์มา แลคโตบาซิลัส สารแคลเซี่ยม สารคอปเปอร์ สารโพแทสเซียม และแร่ธาตุต่างๆที่มีอนุภาคเล็กอยู่ในรูปแบบของไคโตซานฟาร์มOKที่กุ้งสามารถดูดซึมได้ทันที


‼ ช่วยทำให้เลี้ยงกุ้งง่ายขึ้น สามารถใช้ได้ตลอดไม่จำกัด ใช้ได้เท่าที่ต้องการ ใช้ได้ทันทีเมื่อเกิดปัญหาระหว่างเลี้ยง..

หมายเหตุในการใช้ : ควรใช้ปรับน้ำในบ่อกุ้งทุกๆ7วัน เพื่อลดไนไตร์ แอมโมเนีย แพลงก์ตอนบลูม ปรับค่าพีเอชให้สมดุลคงที่ และคลุกอาหารให้กุ้งกินอย่างสม่ำเสมอทุกวัน..
ลูกค้าเกษตรกรเลี้ยงกุ้งพอใจในการใช้งานถึง 90%

................................

*🛵* สนใจสั่งซื้อ - สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่นี่..👇
*🚙*ส่งข้อความและโทรฟรีด้วย LINE : 0620135665
https://line.me/ti/p/hJ7AGHjAZZ<<< คลิ๊กเลย

................................

1#"คอนเฟริม์ จบทุกปัญหาบ่อกุ้งโรคระบาด" https://farmokl2512.blogspot.com/2019/02/ok.html?m=1<<<คลิกเลย

................................

2#"เลี้ยงกุ้งง่ายๆ จบทุกปัญหา การเลี้ยงกุ้ง" https://farmokl2512.blogspot.com/2019/01/blog-post.html?m=1>>>คลิ๊กเลย

.................................

3#"พิชิตกุ้งขี้ขาว คอนเฟริม์ ขี้ขาวหายชัวร์ ขี้ขาวหายจริงๆ" https://farmokl2512.blogspot.com/2018/12/blog-post.html?m=1>>>คลิ๊กเลย

...............................

4#"ประโยชน์ และ คุณสมบัติพิเศษ ของไคโตซาน ฟาร์มOK"https://farmokl2512.blogspot.com/2018/10/ok.html?m=1>>>คลิ๊กเลย

................................

5#"แก้ขี้ขาวหายจริง พื้นที่จังหวัดสงขลา"
https://farmokl2512.blogspot.com/2018/09/ok.html?m=1>>>คลิ๊กเลย

................................

6#"เทรนกำลังมาแรง!!พื้นที่ไหนบ้างใช้แล้วขี้ขาวหายชัวร์ทุกพื้นที่ทั่วประเทศ" https://farmokl2512.blogspot.com/2018/09/2538-2544-2548-340000-32000-ok-ems-ok.html?m=1>>>คลิ๊กเลย

................................

7#"กุ้งขาวใช้อะไรเลี้ยงถึงไม่เป็นขี้ขาวพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทรา" https://farmokl2512.blogspot.com/2018/09/blog-post_19.html?m=1>>>คลิ๊กเลย

..................................

8#"โรคEHP และ โรค SHIV โรคระบาดในกุ้ง" https://farmokl2512.blogspot.com/2019/05/ehp-shiv.html?m=1>>>คลิ๊กเลย

..................................

9#"ไคโตซานฟาร์มOK มีประโยชน์ต่อการเลี้ยงกุ้งอย่างไร" https://farmokl2512.blogspot.com/2019/05/ok.html?m=1>>>คลิ๊กเลย

.................................

10#"เลี้ยงกุ้งได้ ปลอดโรค รู้เขา รู้เรา เลี้ยงกุ้งง่าย ได้กำไรทุกค๊อบ ไม่เสียเวลาในการเลี้ยง-พื้นที่" https://farmokl2512.blogspot.com/2019/05/ok_16.html?m=1>>>คลิ๊กเลย

..................................

11#"ไขกุญแจแห่งความสำเร็จในการควบคุมโรคระบาด EHP กับ SHIV / EMS https://farmokl2512.blogspot.com/2019/06/ehp-shiv-ems.html?m=1>>>คลิ๊กเลย

..................................

12#แก้ขี้ขาว ง่ายนิดเดียว..https://farmokl2512.blogspot.com/2019/09/blog-post.html?m=1>>>คลิ๊กเลย

..................................

13.ปัจจุบัน.ไคโตซานฟาร์มOKได้มีการนำมาในการเพาะเลี้ยงกุ้งและสัตว์น้ำอย่างแพร่หลาย ณ.ตอนนี้กำลังโกลด์อินเตอร์ และมีการพัฒนาการใช้งานให้กว้างขวางแก่สัตว์น้ำทั่วทุกภาคส่วนทุกพื้นที่ทั่วไทย https://farmokl2512.blogspot.com/2019/11/blog-post_11.html?m=1>>>คลิ๊กเลย

...................................

*🛵* สนใจสั่งซื้อ - สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่นี่..👇
*🚙*ส่งข้อความและโทรฟรีด้วย LINE : 0620135665
https://line.me/ti/p/hJ7AGHjAZZ<<< คลิ๊กเลย
..................................






................................
ขอบคุณข้อมูลจาก...
เคดิต : สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์


#กุ้งกุลาดำ #กุ้งขาวแวนาไม #กุ้งขี้ขาว #กุ้งดวงขาว #กุ้งตัวแดง #กุ้งตายด่วน #โรคกุ้งระบาด #บำบัดน้ำเสีย #กำจัดกลิ่นรุนแรง #ปรับพีเอช #สร้างเปลือก #ลอกคราบ