วันพฤหัสบดีที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2562

เลี้ยงกุ้งได้ ปลอดโรค รู้เขา รู้เรา เลี้ยงกุ้งง่าย ได้กำไรทุกค๊อบ ไม่เสียเวลา-พื้นที่

ไคโตซานฟาร์มOK นาโนเทค จุลินทรีย์เชิงบวก


ไคโตซานฟาร์มOKใช้อย่างไร จึงได้ประโยชน์ในการเลี้ยงกุ้ง



หากกล่าวถึงไคโตซาน เป็นที่ทราบกันดีว่าเป็นสารตัวใหม่ที่นำมาใช้ในการเลี้ยงสัตว์น้ำมากกว่า 10กว่าปี ซึ่งพบว่ามีประโยชน์มากกับการเลี้ยงสัตว์น้ำหลายชนิด เช่น กุ้ง ปลา กบ

ไคโตซานเป็นสารโพลิเมอร์ ธรรมชาติ ที่ได้จากการสกัดจากเปลือกกุ้ง ประกอบไปด้วย น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว(กลูโคซามีน)เรียงต่อกันเป็นสายยาว ไคโตซานที่นำมาใช้ในการเลี้ยงสัตว์ มีคุณสมบัติและลักษณะที่ดีมีค่า DEGREE OF DEACETYALATION ที่สูง มากกว่า 90 และเป็นไคโตซาน ที่ผ่านกระบวนการทำให้บริสุทธิ์ปราศจากการปนเปื้อน ของเชื้อโรค เช่น เชื้อรา เชื้อแบคทีเรียเชื้อไวรัส เชื้อโรคอย่างสิ้นเชิง

✍ประโยชน์ของไคโตซาน ฟาร์มOKเลี้ยงกุ้ง เลี้ยงปลา เลี้ยงกบ

💢 กุ้งทุกชนิด กุ้งทุกสายพันธุ์ กุ้งทุกประเภท

ฟาร์มOK เป็นสารตั้งต้น ในการสร้างเนื้อเยื่อและเปลือก กระตุ้นให้มีการลอกคราบได้ดีโตเร็วลอกคราบง่าย

ฟาร์มOK เพิ่มการไหลเวียนของเลือดกุ้งทำให้มีการหมุนเวียนของสารอาหารดีและขับถ่ายของเสียดีขึ้น

ฟาร์มOK เพิ่มภูมิคุ้มกันให้กับกุ้งทุกชนิดเพิ่มภูมิต้านทานให้กุ้งแข็งแรงต่อต้านเชื้อโรคเชื้อไวรัสเชื้อราทุกชนิด

ฟาร์มOK ใช้เป็นสารเคลือบอาหารกุ้งเพื่อให้อาหารคงทนไม่ละลายสูญเสียไปกับน้ำ ลดค่าใช้จ่าย ลดต้นทุน เพิ่มผลผลิตดี

ฟาร์มOK ใช้จับตะกอนและควบคุมปริมาณสาหร่ายในน้ำ ช่วยปรับค่าน้ำคุมPH ปรับน้ำให้สมดุลคงที่ และย่อยสลายของเสีย ลดแอมโมเนีย ลดกลิ่นเหม็น ช่วยส่งเสริมจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง ช่วยให้น้ำโปร่ง ปลดปล่อยไนโตเจน เพิ่มอ๊อกซิเจนในน้ำ ถึงแม้อากาศจะร้อน แต่น้ำในบ่อเลี้ยงจะเย็น

ฟาร์มOK ช่วยป้องกันกุ้งไม่ให้ติดเชื้อไวรัส เชื้อราได้อย่างมีประสิทธิภาพ ควรใช้ฟาร์มOKผสมอาหารกุ้งอย่างสม่ำเสมอและเป็นประจำทุกวัน

💢 ใช้ได้กับตะพาบน้ำ และปลาทุกชนิด

ฟาร์มOK เพิ่มสีในปลาให้เข้มขึ้นสีจัดขึ้นโดยเฉพาะปลาคาร์ฟสีแดงจะเข้มมาก

ฟาร์มOK จะกระตุ้นให้ปลากินอาหารได้มากขึ้น ระบบย่อยอาหารแข็งแรง ฟาร์มOKเพิ่มอัตราการเจริญเติบโตในปลาได้ดี

💢 ใช้ได้กับกบทุกชนิด ทุกสายพันธุ์

ฟาร์มOKช่วยให้กบกินอาหารได้ดีขึ้นกบโตเร็วขึ้น ไคโตซานเสริมความแข็งแรงให้กับระบบย่อยอาหารของกบ ไคโตซานช่วยปรับปรุงคุณภาพน้ำในบ่อเลี้ยงกบให้สมดุลเหมาะสม


ประสิทธิภาพของไคโตซานในการใช้เพื่อวัตถุประสงค์ต่างๆมีดังนี้

1.ใช้เคลือบเม็ดอาหารกุ้งและ สัตว์น้ำอื่นๆ เพื่อให้เม็ดอาหารแตกตัวช้า รวมทั้งใช้ในการเคลือบยา วิตามินและอาหารเสริมอื่นๆ เพื่อไม่ให้ละลายไปกับน้ำในบ่อเลี้ยง เนื่องจากไคโตซานจะมีคุณสมบัติ ไม่ละลายน้ำเมื่อแห้ง และจะเก็บสารอาหารยาและวิตามินไว้ในเม็ดอาหารได้ดี สามารถใช้ไคโตซานเคลือบอาหารเพื่อทดแทนน้ำมันเคลือบทั้งหลาย เช่น น้ำมันปลาหมึกน้ำมันหอย คอเลสเตอรอล น้ำมันปลาทะเล ซึ่งน้ำมันเหล่านี้จะทำให้ตับกุ้งบวมเหลือง เนื่องจากตับกุ้ง ย่อยไขมันไม่ไหว ไขมันจะค้างอยู่ในตับกุ้งเป็นจำนวนมาก

2. ใช้บำรุงตับ เพื่อสุขภาพกุ้ง และเสริมสร้างเปลือก ใช้ไคโตซานประมาณ 10-20 ซีซี.ต่ออาหารกุ้ง 1 กิโลกรัม เคลือบอาหารกุ้งแล้วทิ้งไว้ประมาณ 30 นาที -1 ชั่วโมง จนเม็ดอาหารแห้ง ควรผสมไคโตซานให้กุ้งกินเป็นประจำตั้งแต่เล็กๆ(เริ่มผสมที่อาหารเบอร์ 2 )เมื่อกุ้งได้รับไคโตซานอย่างต่อเนื่องสุขภาพจะดีขึ้น การดีดตัวดีขึ้น กล้ามเนื้อใสเหมือนแก้ว การลอกคราบเป็นปกติ มีเปลือกที่หนาแข็งแรงเป็นมันเงา กุ้งที่เลี้ยงไคโตซานจะไม่ติดเชื้อโรคจากไวรัส แบคทีเรียเชื้อรา และปรสิต

     " คำถาม และ คำตอบ "


แล้วมีความจำเป็นหรือไม่ ที่จะเลือกใช้ไคโตซานในการเลี้ยงกุ้ง โดยปกติกุ้งจะมีการสร้างเปลือก ลอกคราบอย่างสม่ำเสมอ เพื่อการเจริญเติบโตกุ้งที่มีคุณภาพสมบูรณ์แข็งแรง มีการจัดการบ่อเลี้ยงที่ดี และคุณภาพน้ำที่ดี ก่อนปล่อยกุ้งหนาแน่น มีความจำเป็นต้องใช้ไคโตซานเพื่อเสริมสุขภาพกุ้งแต่จะเลือกใช้ไคโตซานเสริมสร้างเมื่อมีข้อสังเกตุจากการเลี้ยงดังนี้...

🦐 ปล่อยกุ้งหนาแน่นได้ดี กุ้งขาวแวนาไม 150,000 ตัว/ต่อไร่ หรือ 200,000 ตัว/ต่อไร่ กุ้งกุลาดำ 50,000 ตัว/ต่อไร่ 80,000 ตัว/ต่อไร่
🦐 กุ้งลอกคราบช้าโตช้า
🦐 กล้ามเนื้อกุ้งขุ่นไม่ใสสะอาด
🦐 ลอกคราบเปลือกนิ่มบาง เปลือกแข็งตัวช้า
🦐 ต้องการเคลือบวิตามินยาให้ละลายอย่างช้าๆ
🦐 ลูกกุ้งที่ปล่อยลงบ่อไปไม่เกิน 20 วันมีอาการอ่อนแอให้เห็น
🦐 กุ้งมีแผลสีดำตามเปลือกต้องการลอกคราบทิ้งเปลือกที่เป็นแผลออก
🦐 น้ำในบ่อเลี้ยงPHแกว่ง แพลงตอนก์ดร๊อป

☝️เมื่อพบอาการข้อใดข้อหนึ่งตามข้างต้นนี้ สามารถใช้ไคโตซานเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาข้างต้นนี้ได้ แต่ถ้าให้ไคโตซานป้องกันตั้งแต่แรกจะได้ผลดีที่สุดเนื่องจากกุ้งต้องนำไคโตซานเข้าสะสมในตัวทีละน้อยจนมีปริมาณไคโตซานมากพอที่จะเสริมสร้างเปลือกและเนื้อเยื่อได้
การใช้ไคโตซานเพื่อประโยชน์ในการเลี้ยงกุ้งนั้น ผู้เลี้ยงควรจะอดทนรอผลการใช้ประมาณ 1-2 อาทิตย์ เนื่องจากการให้ไคโตซานผสมกับอาหารกุ้ง เพื่อสร้างสุขภาพกุ้งให้แข็งแรง สร้างเปลือก สร้างเนื้อเยื่อ ต้องใช้เวลาให้กุ้งได้สะสมไคตินมากพอที่จะนำไปใช้ประโยชน์ได้และควรให้กุ้งได้รับสารไคโตซานมากพอ โดยผสมอาหารให้กุ้งกินทุกมื้อ ทุกวัน เป็นประจำจนเมื่อกุ้งสมบูรณ์แข็งแรงดีพร้อมจับกุ้งขาย

✍ปัจจุบันนี้มีสินค้าที่ทำจากไคโตซาน มากมายหลายบริษัท แต่ละบริษัทก็มีสูตรที่คล้ายกันบ้าง หรือบางบริษัทก็มีสูตรที่เฉพาะเจาะจงของบริษัทนั้นๆ แต่พื้นฐานของสินค้าทั้งหมดก็มาจากไคโตซานเหมือนกัน ที่จริงแล้วสินค้าที่ทำจากไคโตซานที่มีคุณสมบัติดีนั้นต้องมาจาก

#ขั้นตอนการคัดเลือกวัตถุดิบที่ดี
#การเลือกใช้ไคโตซานที่มีน้ำหนักโมเลกุลเหมาะสมกับจุดประสงค์ของแต่ละการใช้งาน

#วิธีการผสมและความสะอาดของการผลิต

ขั้นตอนที่1.การคัดเลือกวัตถุดิบที่ดี วัตถุดิบที่ดีสำหรับการทําไคโตซานควรจะเป็นของสด เช่น เปลือกกุ้งสด,เปลือกปูสด ระหว่างที่นำมาผลิตต้องเก็บในอุณหภูมิไม่เกิน 4 องศาเซลเซียส ขั้นตอนในการสกัดโปรตีนออกมา ต้องสกัดให้หมดเนื่องจากถ้ามีโปรตีนเหลือ จะทำให้ไคโตซานเน่าเสียได้เมื่อ ทำเป็นสารละลายต้องสกัดแคลเซียมและเกลือแร่ออกให้หมดเพื่อให้มีปริมาณกากเหลือน้อยที่สุดเพื่อที่จะได้ไคตินที่มีประโยชน์มีคุณภาพดีเมื่อนำไปผลิตต่อจะได้ไคโตซานคุณภาพดีที่สุดไคโตซานที่มีคุณภาพดีควรมีค่า DD (DEGREE OF DEACETYLATION) มากกว่า 90 ขึ้นไป ค่าดีดี( DD)เป็นค่าที่แสดงให้เห็นว่า ไคโตซานที่มีค่าดีดี (DD)สูงมาก จะละลายได้ดีมากมีส่วนที่เป็นกากน้อยสารละลายที่ได้จะมีความใสสะอาดมากตรงกันข้ามกับไคโตซานที่มีค่าดีดี(DD)ต่ำ จะละลายยากและมีความขุ่นมาก สารละลายที่ได้จะไม่ใสสะอาด เนื่องจากมีกากและส่วนที่ไม่ละลายมากไม่เหมาะสมกับการนำมาใช้ผสมเป็น ผลิตภัณฑ์ที่ต้องการคุณภาพ เช่น อาหารคน อาหารกุ้ง สารเสริมภูมิคุ้มกันพืชทางใบ แต่สามารถนำไคโตซานที่มีค่าดีดี(DD)ต่ำมาใช้เป็นปุ๋ยผสมดินบำบัดน้ำเสียได้ เนื่องจากไม่จำเป็นต้องใช้ไคโตซานที่มีค่าดีดี(DD)สูงนัก ดังนั้นไคโตซานที่มีคุณภาพดีจะสังเกตได้จากค่าดีดี(DD)ที่สูง ถ้าสามารถขอรับใบรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์จากผู้ขายได้จะดีมาก ไคโตซานที่มีเนื้อสารละลายที่ใสสะอาดไม่มีตะกอนและผลิตมาจากบริษัทที่เชื่อถือได้ว่ามีความชำนาญมีกรรมวิธีการผลิตที่สะอาดได้มาตรฐานเนื่องจากไคโตซานที่ไม่บริสุทธิ์เมื่อนำมาทำเป็นผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปจะเน่าเสียเร็วมีความขุ่นสูงละลายยากไม่คุ้มค่ากับราคาที่จ่ายไป

ขั้นตอนที่2.การเลือกใช้ไคโตซานที่มีน้ำหนักโมเลกุลเหมาะสมกับจุดประสงค์ของแต่ละการใช้งาน ความต้องการใช้ไคโตซานในแต่ละจุดประสงค์นั้นขึ้นกับน้ำหนักโมเลกุลของไคโตซาน ซึ่งไคโตซานที่มีน้ำหนักโมเลกุลน้อยจะมีสายสั้น ไคโตซานที่มีน้ำหนักโมเลกุลมากจะมีสายยาวและธรรมชาติไคโตซานที่มีน้ำหนักโมเลกุลต่างๆ จะคัดมาจากแต่ละส่วนของอวัยวะของกุ้งปู ซึ่งเปลือกของกุ้งปูแต่ละส่วนเมื่อทำเป็นไคโตซานเรียบร้อยแล้ว จะมีน้ำหนักโมเลกุลไม่เหมือนกันเปลือกกุ้ง เปลือกปู ที่ถูกเก็บมาอย่างดีด้วยความเย็นจัดจะให้โมเลกุลที่สม่ำเสมอมากกว่า เปลือกกุ้งเปลือกปูตากแห้งที่ไม่ได้เก็บด้วยความเย็น เปลือกที่ตากแห้งจะมีเศษโปรตีนปนเปื้อนมากกว่าเปลือกสดจะทำให้ได้ไคโตซานที่มีคุณภาพต่ำกว่าการใช้เปลือกกุ้ง เปลือกปูสดมาผลิต จุดประสงค์ในการคัดเลือกไคโตซานที่มีน้ำหนักโมเลกุลต่างๆ มาใช้งานก็เพื่อที่ จะต้องการให้ไคโตซาน มีผลิตภัณฑ์ที่มีประสิทธิภาพสูงที่สุด เหมาะกับจุดประสงค์นั้นๆ เช่น เมื่อต้องการใช้เคลือบเม็ดอาหารกุ้ง อาหารปลาและอาหารกบ จะได้ไคโตซานที่มีน้ำหนักโมเลกุลสูงและน้ำหนักโมเลกุลปานกลางเป็นส่วนใหญ่ถ้าต้องการใช้กับพืชจะต้องใช้ไคโตซานที่มีน้ำหนักโมเลกุลต่ำมากๆ หรือถ้าต้องการใช้ไคโตซานในการเคลือบผักผลไม้เพื่อยืดอายุการเก็บรักษาควรจะใช้ไคโตซานที่มีน้ำหนักโมเลกุลสูงมากๆ

ขั้นตอนที่3. วิธีการผสมและความสะอาดของการผลิต ผลิตภัณฑ์ที่ประกอบด้วยไคโตซานในแต่ละสูตรนั้น มีวิธีการผสมที่ไม่เหมือนกันขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ของการใช้งาน และคุณสมบัติของสารละลายไคโตซานที่แตกต่างขึ้นอยู่กับ
✔ กรดอินทรีย์แต่ละชนิด ที่ใช้ทำละลายไคโตซาน
✔ กรรมวิธีการละลายไคโตซาน
✔ อุณหภูมิที่ใช้ขณะทำการละลาย
✔ ภาชนะที่ใช้ทำละลาย
✔ การควบคุมไอออนของโลหะในสารละลาย
✔ การกำจัดแบคทีเรียและเชื้อรา ที่ปนเปื้อนในสารละลาย การควบคุมการผสมโดยผู้เชี่ยวชาญสารละลายไคโตซานที่ดีนั้น จะต้องมีความใสสะอาดสูงปราศจากฝุ่นละออง และกากของไคตินต้องไม่มีกลิ่นเหม็น มีความเข้มข้น เหมาะสมกระบวนการทำละลาย ใช้อุณหภูมิที่เหมาะสม ในภาชนะปลอดสนิม ใช้น้ำที่ปราศจากอาหาร ที่ปราศจากไอออน ในการทำละลาย และผ่านกระบวนการการกำจัดเชื้อรา และแบคทีเรียด้วยความร้อน ขั้นตอนทั้งหมดควรถูกควบคุม โดยผู้ผลิตที่เชี่ยวชาญชำนาญและมีประสบการณ์เกี่ยวกับไคโตซานมาเป็นเวลานานหลายปี...

จบทุกปัญหาเรื่องการเลี้ยงกุ้ง           

จุดดี..ของไคโตซาน ฟาร์มOKนำเข้าพีเมี่ยมฟู๊ดเกรด นวัตกรรมจากประเทศญี่ปุ่น ไม่ผสมสารเคมี เป็นสารสกัดจากเปลือกกุ้ง เพียว 100% สะอาดบริสุทธุิ์ สายพันธุ์สั้น เป็นประจุบวกมีฤทธิ์เป็นด่าง มีอนุภาคเล็กดูดซึมได้เร็วไว ย่อยสลายเร็ว เห็นผลตอบโจทย์เร็ว ส่งเสริมการทำงานของจุลอินทรีย์สังเคราะห์แสง มีสาร(Actiomycetes)แอคติโอมายซีส(ตัวย่อย)ช่วยส่งเสริมการทำงานของจุลอินทรีย์ที่ดี ช่วยย่อยสลายของเสีย จับตะกอนแขวนลอย
มีสาร(Trichoderma)ไตรโคเดอม่า ซึ่งเป็นเชื้อรา(ตัวเขมือบ)ที่กินเชื้อราด้วยกัน
มีโปตัสเซี่ยม ช่วยทำให้กุ้งไม่เป็นตะคริว เพราะกุ้งไม่เครียด
มีไคติน-ไคโตซาน ที่ช่วยให้กุ้งเก็บเอาไปสะสมสร้างเปลือก และลอกคราบง่าย โตเร็ว เนื้อแน่น น้ำหนักดี กำไรงาม  กุ้งสามารถนำไคโตซาน ฟาร์มOKซึ่งมีสารอาหารครบถ้วนสมบูรณ์ไปใช้ในรูปแบบการดูดซึมได้ทันที  จึงแนะนำ : เกษตรกร เปลี่ยนมาใช้ ไคโตซาน ฟาร์ม OK เพราะจะช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายต่างๆมากมาย ช่วยลดต้นทุนในการเลี้ยงกุ้ง ได้ปริมาณการเลี้ยงกุ้งมากขึ้น ใช้เลี้ยงกุ้งไม่บาง เลี้ยงกุ้งหนาแน่นจะได้ประโยชน์สูงสุด จะคุ้มค่ากับการลงทุนมากกว่า การเลี้ยงกุ้งบาง




💢 นี่ไม่ใช่การโฆษณา!!! แต่ผลิตภัณฑ์ไคโตซานฟาร์มOK ของ"เฮ็ลธ์ฟู๊ดส์เน็ตเวริค์" สามารถช่วยโลกของเราได้
คลิ๊กเลย>>>https://farmokl2512.blogspot.com/2019/05/ok.html?m=1

💢 "คอนเฟริม์ จบทุกปัญหาบ่อกุ้งเป็นโรคระบาด,แก้แอมโมเนียสูง" คลิ๊กเลย>>>https://farmokl2512.blogspot.com/2019/02/ok.html?m=1

💢 "ฟาร์มOK เลี้ยงกุ้งง่ายจริงๆ">>>คลิกเลย https://farmokl2512.blogspot.com/2019/01/blog-post.html?m=1

💢 "พิชิตกุ้งขี้ขาว" ขี้ขาวหายชัวร์ พิชิตกุ้งขี้ขาวหายจริงๆ คลิ๊กเลย>>> https://farmokl2512.blogspot.com/2018/12/blog-post.html?m=1

สนใจสั่งซื้อ - สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
✍ส่งข้อความและโทรฟรีด้วย 🆔️LINE 0620135665
https://line.me/ti/p/hJ7AGHjAZZ<<< คลิ๊กเลย

ขอบคุณข้อมูลจาก: เคดิต ศูนย์วิจัยการตรวจและวินิจฉัยโรคกุ้งทะเล โรคสัตว์น้ำ

กุ้งขาว กุ้งกุลาดำ เกษตรกรรม บำบัดน้ำเสีย โรคกุ้งEHP โรคกุ้งทุกชนิด 

🦐🦐🦐🦐🦐🦐🦐🦐🦐🦐

ฟาร์มOK มีประโยชน์ต่อการเลี้ยงกุ้งอย่างไร?


ไคโตซาน มีประโยชน์กับการเลี้ยงกุ้งอย่างไร?


ไคโตซาน ฟาร์ม OK เพียวๆ 100 % นวัตกรรมจากประเทศญี่ปุ่น ไม่ผสมเคมี สะอาดบริสุทธิ์ ไม่มีสารเคมีตกค้าง ปลอดภัย ทั้งผู้ใช้ และผู้ขาย รวมถึงผู้บริโภค

✍เริ่มมีการนำไคโตซาน มา ประยุกต์ ใช้ในธุรกิจสัตว์น้ำ โดยเฉพาะการเลี้ยงกุ้ง เมื่อนานมาก กว่าปีนี้ โดยเริ่มจากการนำไคโตซาน มาเคลือบเม็ดอาหารกุ้งก่อน โดยมีความเชื่อว่า ไคโตซานเป็นโพลิเมอร์ธรรมชาติ ซึ่งไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต ในสมัยก่อนนั้น อาหารกุ้งจะมีค่าความคงตัวต่ำ ละลายน้ำได้เร็ว เมื่อแช่อาหารกุ้งในน้ำ 2-3 ชั่วโมง อาหารกุ้งจะละลายตัวเละ ยุ่ยง่าย จนกุ้งไม่สามารถนำเม็ดอาหารกุ้งมากินได้ ทำให้อาหารกุ้งละลายเสียสภาพไป จมน้ำในบ่อเป็นจำนวนมาก และเศษอาหารที่ละลายอยู่ ในน้ำ จึงเป็นปัญหากับคุณภาพ น้ำในบ่อ ก่อให้เกิดการเน่าเสียของน้ำ ทำให้ค่าแอมโมเนีย และไนไตรท์ เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว จนเป็นพิษกับกุ้งในบ่อ หากแก้ไขคุณภาพน้ำในบ่อไม่ทัน อาจทำให้กุ้งเสียหายและตายเป็นจำนวนมาก แต่เมื่อใช้ไคโตซาน ในรูปแบบสารละลายไคโตซานเข้มข้น 3-5 % W/V มาเคลือบเม็ดอาหาร และผึ่งตากทิ้งไว้ประมาณ 30 นาที เพื่อให้เกิดฟิล์มไคโตซานแห้ง หลังจากเม็ดอาหารถูกเคลือบด้วยไคโตซาน แห้งดีแล้ว จึงนำไปหว่านลงในบ่อกุ้ง เม็ดอาหารจะคงตัวอยู่ในน้ำได้นานถึง 12 ชั่วโมง โดยไม่ละลายตัวกลายเป็นผง ยุ่ยง่าย ยังคงสภาพเป็นเม็ดอยู่ มีเนื้อสัมผัสคล้ายกับลูกชิ้นปลาเนื่องจากไคโตซานจะเข้าไปรัดเม็ดอาหารให้อยู่ในตัวในน้ำ กุ้งสามารถ คีบเม็ดอาหารกินได้ง่าย และ ทำให้คุณภาพของน้ำ ในบ่อดีขึ้น เนื่องจากไม่มีเม็ดอาหารละลายออกมาจนทำให้น้ำในบ่อเสียจนเกิดแอมโมเนีย

💢แต่เมื่อใช้ไคโตซานเคลือบ เม็ดอาหารกุ้ง ให้กินสักระยะหนึ่ง กุ้งจะเริ่มทยอยลอกคราบออกมา เนื่องจากไคโตซานไปเสริมสร้างสารไคตินซึ่งเป็นสารที่กุ้งใช้สำหรับการสร้างเปลือก และเนื้อเยื่อ ซึ่งกุ้งธรรมชาติ ได้รับไคตินสด อย่างเพียงพอ จากเปลือกของสัตว์ทะเลต่างๆที่กุ้งจับกิน เช่น กุ้ง,เคย,กุ้งปูตัวเล็ก,หอย,ปลาหมึก จึงทำให้กุ้งธรรมชาติสามารถลอกคราบได้อย่างปกติ แต่กุ้งในบ่อเลี้ยง ได้รับสารไคตินไม่เพียงพอที่จะช่วยในการลอกคราบ เนื่องจากกุ้งในบ่อเลี้ยงมีจำนวนมาก และถูกเลี้ยงอย่างหนาแน่นปริมาณไคตินที่กุ้งจะได้รับจากอาหารกุ้ง จึงไม่มากเพียงพอถึงแม้นว่ากุ้งจะสามารถสังเคราะห์สารไคตินขึ้นมาได้เองจากอาหารก็ตาม


💢การลอกคราบของกุ้งเกิดจากการสะสมอาหารอย่างเต็มที่ และสร้างสารไคตินขึ้นมาได้เพียงพอกุ้งจึงเริ่มลอกคราบเพื่อขยายขนาดตัว (หลังจากกุ้งลอกคราบกุ้งจะกินคราบเก่าของตัวเอง)เพื่อสร้างไคตินเก็บไว้สำรองสำหรับการลอกคราบครั้งต่อไปกุ้งที่ลอกคราบไปแล้ว จะไม่สามารถลอกคราบได้อีกในระยะเวลาสั้นๆเนื่องจากต้องสะสมอาหารและสร้างสารไคตินสำหรับการสร้างเปลือกให้ได้มากเพียงพอ เสียก่อน จึงสามารถลอกคราบครั้งต่อไปได้

💢ก่อนที่กุ้งจะเริ่มลอกคราบกุ้งจะเริ่มดึงแร่ธาตุจากเปลือกมา เก็บไว้ที่ตับกุ้ง ซึ่งเป็นอวัยวะที่สำคัญที่สุดในตัวกุ้ง ตับกุ้งมีหน้าที่ย่อยอาหารสร้างเอนไซม์เก็บสะสมอาหารและแร่ธาตุต่างๆไว้สำหรับการดำรงชีวิตของกุ้งเมื่อกุ้งลอกคราบแล้วกุ้งจะดึงสารอาหารต่างๆและแร่ธาตุที่เก็บไว้ที่ตับมาใช้ในการสร้างโครงสร้างเปลือก และดูดแร่ธาตุต่างๆจากน้ำผ่านทางเหงือกเพื่อสะสมทำให้เปลือกแข็งในที่สุด


💢กุ้งเก็บสารสร้างเปลือกในรูป สารประกอบไคตินไว้ในตับและเนื้อเยื่อและจะนำมาใช้เมื่อเริ่มลอกคราบหากกุ้งได้อาหารเสริมสารไคติน เช่น ไคโตซาน ก็จะทำให้กุ้งสามารถสร้างสารประกอบไคตินได้มากขึ้นจึงทำให้การลอกคราบง่ายและสมบูรณ์ ซึ่งทำให้มีอัตราการรอดชีวิตสูง การเสริมสารไคตินในอาหารกุ้ง ช่วยให้กุ้งกินอาหารเป็นประจำมีประโยชน์ต่อกุ้งและเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งทำให้เลี้ยงกุ้งง่ายขึ้น แข็งแรงขึ้น โตเร็วดีขึ้น ลอกคราบง่ายสมบูรณ์ขึ้น ที่สำคัญ ไคโตซานเป็นสารธรรมชาติที่สกัดมาจากเปลือกกุ้ง 100% จึงเหมาะที่จะนำมาใช้ บำรุงกุ้ง และไม่มีสารตกค้างหรือสารต้องห้ามผ่านการพิสูจน์ประสิทธิภาพมานานมากกว่า 10 ปี ว่า มีประโยชน์เมื่อนำไปใช้กับการเลี้ยงกุ้งและบำบัดน้ำเสียในบ่อเลี้ยงกุ้ง แก้แอมโมเนียสูง






"คอนเฟริม์ จบทุกปัญหาบ่อกุ้งเป็นโรคระบาด,แก้แอมโมเนียสูง" https://farmokl2512.blogspot.com/2019/02/ok.html?m=1<<<คลิกเลย

สนใจสั่งซื้อ - สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
✍ส่งข้อความและโทรฟรีด้วย 🆔️LINE 0620135665
https://line.me/ti/p/hJ7AGHjAZZ<<< คลิ๊กเลย

( เกษตรกรกว่า 99% พอใจกับฟาร์มOK )

กุ้ง สัตว์น้ำ โรคระบาดในกุ้ง โรคกุ้งทุกชนิด เกษตร ปรับค่าพีเอชสมดุล บำบัดน้ำเสีย น้ำเน่ามีกลิ่น แพลงตอนก์ดร๊อป




ขอบคุณข้อมูลจาก: เคดิตศูนย์วิจัยและชันสูตรโรคสัตว์น้ำ สถาบันสุขภาพสัตว์แห่งชาติ

🦐#กุ้งกุลาดำ #กุ้งขาวแวนาไม #บำบัดน้ำเสีย #แก้ปัญหาแก๊สไข่เน่า #ลดแอมโมเนีย #ปรับค่าพีเอชให้สมดุลคงที่


วันอังคารที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2562

โรค EHP - SHIV รักษาได้

โรค EHP - SHIVมีงานวิจัย มีทางรักษาให้หายขาดได้จริง



โรค EHP - SHIV
เกิดจากเชื้อราเห็ด และ ปรสิต ระบาดในกุ้งขาวแวนาไม และ กุ้งกุลาดำ
EHP กับ SHIV โรคใหม่กุ้ง ประมงหวั่นซ้ำรอย EMS
..นายอดิศร พร้อมเทพ อธิบดีกรมประมง เผยว่า ขณะนี้มีรายงานในต่างประเทศพบโรคระบาดในกุ้ง 2 โรค ทำให้มีอัตราการตายสูง ได้แก่ โรค Hepatopancreatic microsporidioisis caused by Enterocyto- zoon hepatopenaei หรือ EHP ที่เกิดจากเชื้อไมโครสปอริเดีย ส่งผลให้กุ้งโตช้า แตกไซส์ อาจทำให้เกิดอาการขี้ขาว กุ้งทยอยตาย กับโรค Shrimp hemocyte iridescent virus หรือ SHIV เพื่อเป็นการป้องกัน เฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้เชื้อโรคดังกล่าวเข้ามาแพร่ระบาดในประเทศไทย โดยเฉพาะจากการนำเข้าพ่อแม่พันธุ์กุ้งหรืออาหารมีชีวิตมาจากต่างประเทศ

ฟาร์มOK ไคโตซาน นวัตกรรมจากประเทศญี่ปุ่น สายพันธุ์สั้น ไม่มีส่วนผสมของเคมี ลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต

โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ออกประกาศกำหนดให้โรค EHP และโรค SHIV ซึ่งเกิดในกุ้งเป็นโรคภายใต้ พ.ร.บ.โรค ระบาดสัตว์ เช่นเดียวกับโรคอื่นๆในสัตว์น้ำที่เคยมีการประกาศไปแล้วก่อนหน้านี้ 38 โรค

"การเพาะเลี้ยงกุ้งภายในประเทศ จำเป็นต้องปรับเข้าสู่ระบบปิด" และจัดการฟาร์มตามหลักไบโอซีเคียวริตี้ เพื่อป้องกันและลดความเสี่ยงของการเกิดโรคระบาดในกุ้ง ไม่ให้ส่งผลกระทบต่อผลผลิตกุ้งเหมือนช่วงที่โรค EMS ระบาด ซึ่งมาตรการนี้จะช่วยปกป้องและรักษาเสถียรภาพกุ้งไทยให้เข้มแข็ง”
อธิบดีกรมประมงให้ข้อมูลโรค EHP เกิดจากเชื้อปรสิต Enterocytozoon hepatopenaei จัดอยู่ในกลุ่มของไมโคร-สปอริเดียน ซึ่งเป็นปรสิตที่มีขนาดเล็กมาก (เล็กกว่า 1 ไมครอน ไม่สามารถมองด้วยตาเปล่า) การตรวจสอบต้องใช้กล้องจุลทรรศน์ที่ระดับกำลังขยายสูงสุด โดยมีรายงานการติดเชื้อปรสิตชนิดนี้ในกุ้ง Penaeus japonicas ในประเทศออสเตรเลีย มาตั้งแต่ปี 2544 แม้ว่ากุ้งจะไม่ตายด่วน แบบ EMS แต่จะมีผลทำให้กุ้งโตช้า เลี้ยงต่อไปเกษตรกรจะขาดทุนค่าอาหาร ในประเทศไทยเคยพบปรสิตชนิดนี้ครั้งแรกในกุ้งกุลาดำเมื่อปี 2547 พบในเซลล์ตับและตับอ่อนของกุ้งกุลาดำ แต่พบในสัดส่วนไม่มากพอที่จะก่อให้เกิดโรค EHP


💢ส่วนโรค SHIV หรือไวรัสกุ้งเกล็ดเลือด เป็นเชื้อไวรัสตัวใหม่ในตระกูล Lridoviridae ในเชื้อ L.vannamei โดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์การประมง แห่งประเทศจีน ตรวจพบในกุ้งขาว Litopenaeus vannamei ที่บ่อเลี้ยงที่เมืองเจ้อเจียงแล้วเกิดตายลงเป็นจำนวนมาก เมื่อปี 2556 พบการตายในกุ้งตัวใหญ่ ลำตัวสีซีด ท้องว่างเพราะไม่กินอาหาร กล้ามเนื้อเปลือกแข็ง ตัวแดงเล็กน้อย และสามารถแพร่เชื้อไปยังกุ้งก้ามกรามได้ด้วย แต่ยังไม่พบการระบาดในบ้านเรา

เกษตรกรกว่า 99% พอใจกับฟาร์มOK พื้นที่ภาคใต้จังหวัดนครศรีธรรมราช


บ่อเลี้ยงกุ้งขาวแวนาไม ใช้ฟาร์มOK โดย เลี้ยงแบบระบบปิด ตลอดระยะการเลี้ยงกุ้งไม่ป่วยเลย น้ำในบ่อเลี้ยงก็ไม่มีปัญหาอะไรเลย นำน้ำและตัวกุ้งไปตรวจที่กรมประมงทุกอาทิตย์ น้ำปกติดี กุ้งไม่ติดเชื้อ 90%
ระยะเวลา 66 วัน
ไซด์  59 ตัว
ราคา 170.- กุ้ง 5 ตันกว่า..








"คอนเฟริม์ จบทุกปัญหาบ่อกุ้งเป็นโรคระบาด,แอมโมเนียสูง" https://farmokl2512.blogspot.com/2019/02/ok.html?m=1<<<คลิกเลย

🌿🍁🌾สนใจสั่งซื้อ - สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
🌿🍁🌾ส่งข้อความและโทรฟรีด้วย 🆔️LINE 0620135665
https://line.me/ti/p/hJ7AGHjAZZ<<< คลิ๊กเลย

เกษตรกรกว่า 99% พอใจกับฟาร์มOK

#กุ้งขี้ขาว #สัตว์น้ำ #โรคระบาดในกุ้ง #โรคกุ้งทุกชนิด #เกษตร #ปรับค่าพีเอชสมดุล #บำบัดน้ำเสีย #น้ำเน่ามีกลิ่น #แพลงตอนก์ดร๊อป #โรคEHP-SHIV


ขอบคุณภาพและข้อมูลจาก: เคดิต ไทยรัฐฉบับพิมพ์