วันจันทร์ที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564

ธรรมชาติบำบัดน้ำไม่ทัน ฟาร์มOKบำบัดแทนได้



ข้อควรระวัง!! ช่วงปลายฝนต้นหนาว


ย่างเข้าสู่ช่วงปลายฝนต้นหนาวอีกแล้ว ปีนี้นั้นเป็นอีกปีหนึ่งที่ประเทศไทยเจอกับฝนมากตลอดปี ในช่วงที่มีฝนตกติดต่อกันมากๆคุณหภูมิลดต่ำลง เรียกได้ว่าเกษตรกรต้องเจอกันหนักกับสภาพอากาศที่ค่อนข้างแปรปรวน สภาพอากาศถือเป็นปัจจัยที่สำคัญ และมีผลต่อการเลี้ยงกุ้งเป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้วว่าสภาพอากาศนั้นส่งผลต่อกุ้งโดยตรง นั่นคืออุณหภูมิที่มีการเปลี่ยนแปลงขึ้นลง จะส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของน้ำ สำหรับกุ้งที่เป็นสัตว์เลือดเย็นก็จะมีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิร่างกายตามสภาพแวดล้อมนั่นเอง ซึ่งการปรับตัวไปตามสภาพแวดล้อมย่อมส่งผลให้กุ้งอ่อนแอ และมีโอกาสติดเชื้อโรคง่ายขึ้น สำหรับปัญหาเรื่องโรคที่มักพบในช่วงอากาศหนาวก็คงไม่พ้นโรคจากตัวแดงดวงขาว นอกจากปัญหาเรื่องโรคไวรัสแล้วนั้น แบคทีเรียก็ยังคงเป็นอีกหนึ่งปัญหาที่พบได้ถึงแม้นว่าจะไม่หนักเท่าในช่วงอากาศร้อนก็ตาม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง โรคขี้ขาว

การเลี้ยงกุ้งในช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลงฤดูกาลผู้เลี้ยงที่มีความพร้อมมักจะได้เปรียบเสมอ ไม่ว่าจะเป็นในด้านการจัดการระบบการเลี้ยง การเตรียมน้ำ เตรียมบ่อเลี้ยง การให้อาหาร รวมทั้งการคัดเลือกลูกพันธุ์ที่มีคุณภาพ

สำหรับฤดูที่ใกล้จะเข้ามาถึงช่วงฤดูหนาว กุ้งมักจะเป็นโรคหนาว มีการระบาดของโรคตัวแดงดวงขาวนั่นเอง นอกจากปัญหาเรื่องของโรคระบาดแล้วนั้น อุณหภูมิที่ลดต่ำลงก็จะส่งผลต่อการกินอาหารของกุ้งอีกเช่นกัน ซึ่งได้มีรายงานการทดลองในเรื่องของผลของอุณหภูมิต่อการกินอาหารของกุ้ง พบว่ากุ้งที่เลี้ยงในน้ำที่มีอุณหภูมิ 33 OC กินอาหารมากกว่ากุ้งที่เลี้ยงน้ำที่มีอุณหภูมิ 29 OC (ชะลอและคณะ, 2553)ดังนั้นในช่วงที่อุณหภูมิลดลง หากผู้เลี้ยงละเลยในการเช็คปริมาณอาหารที่ให้ในแต่ละวันอาจจะเกิดปัญหาตามมาได้

เนื่องจากอุณหภูมิลดลงส่งผลการเปลี่ยนแปลงฤดูกาลปลายฤดูฝนเข้าสู่หนาวนั้นอุณหภูมิก็จะลดต่ำลงส่งผลให้อุณหภูมิของน้ำลดต่ำลงด้วย กุ้งก็จะกินอาหารลดลง แต่ถ้าผู้เลี้ยงยังให้อาหารในปริมาณปกติก็จะทำให้เกิดอาหารเหลือมากขึ้นนั่นเอง อาหารที่เหลือนั้นมักจะส่งผลให้เกิดของเสียสะสมในบ่อเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะในรูปของอินทรีย์สารซึ่งหากมีปริมาณมากจนเกินไปในบ่อนอกจากจะมีการเปลี่ยนแปลงไปเป็นสารประกอบที่เป็นพิษกับกุ้ง ในรูปแบบของแอมโมเนีย และไนไตรท์แล้วยังกลายเป็นแหล่งอาหารของแบคทีเรียที่ก่อโรคอีกด้วย บ่อไหนที่ของเสียปริมาณสารอินทรีย์มาก เมื่อนำน้ำและเลนมาตรวจก็มักจะพบว่า พบเชื้อแบคทีเรียที่เป็นอันตรายต่อกุ้งเป็นจำนวนมากโดยเฉพาะเชื้อแบคทีเรียวิบริโอ ขี้ขาว จะเห็นว่าถ้าหากผู้เลี้ยงไม่ให้ความใส่ใจในการดูแลกุ้งในช่วงนี้นั้น ก็จะทำให้ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไวรัสและแบคทีเรีย

สำหรับวิธีการจัดการสารอินทรีย์หรือของเสียในบ่อ นอกจากการดูดเลน การควบคุมปริมาณอาหารที่ให้อย่างเหมาะสมไม่ให้เหลือทิ้งตกค้าง ก็จะเป็นการจัดการที่ต้นตอของสารอินทรีย์ที่จะเกิดขึ้นในบ่อ แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นผู้เลี้ยงต้องใส่ใจในการเช็คปริมาณอาหารให้เพียงพอกับความต้องการของกุ้งด้วย นอกจากนั้นการใช้จุลินทรีย์เพื่อย่อยสลายของเสียพื้นบ่อเลี้ยงก็เป็นอีกตัวช่วยหนึ่งในการกำจัดของเสียระหว่างเลี้ยง การเลือกใช้วิธีการใดๆก็ตามในการกำจัดของเสีย ผู้เลี้ยงเองต้องทำความเข้าใจศึกษาข้อมูลในการใช้ และนำไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับสภาพของบ่อของตนเอง เพื่อให้เกิดประโยชน์และมีประสิทธิภาพสูงสุด สำหรับการเลี้ยงกุ้งในช่วงหนาวที่จะถึงนี้ การเตรียมบ่อให้ดี การตรวจเช็คสุขภาพกุ้งในบ่อสม่ำเสมอ การเสริมบำรุง และกระตุ้นภูมิคุ้มกันให้กุ้งแข็งแรงรวมทั้งการดูแลและจัดการปัญหาของเสียหรือสารอินทรีย์ส่วนเกินในบ่อได้ การเลี้ยงกุ้งในช่วงหนาวนี้ก็คงจะไม่ยากอีกต่อไปหากมีตัวช่วยที่ดี https://line.me/ti/p/uQxRrrOn0t เครดิต:Google


❇️ขอบคุณรีวิวแชร์...[CR] [CR]แชร์วิธีกำจัดโรคขี้ขาวในกุ้งขาวจนหาย จับบ่อเดียว 5 ตัน 7 แสนบาท
คลิ๊กเลย>>>https://m.pantip.com/topic/37901451

❇️"คอนเฟริม์ จบทุกปัญหาบ่อกุ้งโรคระบาด" https://farmokl2512.blogspot.com/2019/02/ok.html?m=1<<<คลิกเลย

❇️"เลี้ยงกุ้งง่ายๆจบทุกปัญหาการเลี้ยงกุ้ง" https://farmokl2512.blogspot.com/2019/01/blog-post.html?m=1>>>คลิ๊กเลย

❇️"พิชิตกุ้งขี้ขาว คอนเฟริม์ ขี้ขาวหายชัวร์ ขี้ขาวหายจริงๆ" https://farmokl2512.blogspot.com/2018/12/blog-post.html?m=1>>>คลิ๊กเลย

❇️"แก้ขี้ขาวหายชัวร์"คอนเฟริม์"กุ้งเป็นโรคขี้ขาวใช้แล้วหายชัวร์พื้นที่จังหวัดสงขลา"
https://farmokl2512.blogspot.com/2018/09/ok.html?m=1>>>คลิ๊กเลย

❇️#รีวิวการันตีจากชาวบ่อเยอะ
#รีวิวจากยอดขายล้านลิตร
#รีวิวจากลูกค้าใช้งานจริง
#รีวิวจากยอดขายที่ขายจริง
#รีวิวแน่นดูได้ที่นี่... https://farmokl2512.blogspot.com/2018/09/2538-2544-2548-340000-32000-ok-ems-ok.html?m=1

❇️"โรคEHP-SHIV โรคระบาดในกุ้ง" https://farmokl2512.blogspot.com/2019/05/ehp-shiv.html?m=1>>>คลิ๊กเลย

❇️"ฟาร์มOK มีประโยชน์ต่อการเลี้ยงกุ้งอย่างไร" https://farmokl2512.blogspot.com/2019/05/ok.html?m=1>>>คลิ๊กเลย

❇️"เลี้ยงกุ้งได้ ปลอดโรค รู้เขา รู้เรา เลี้ยงกุ้งง่าย ได้กำไรทุกค๊อบ ไม่เสียเวลา-พื้นที่" https://farmokl2512.blogspot.com/2019/05/ok_16.html?m=1>>>คลิ๊กเลย

❇️"ปัจจุบัน.ไคโตซานฟาร์มOKได้มีการนำมาในการเพาะเลี้ยงกุ้งและสัตว์น้ำอย่างแพร่หลาย และมีการพัฒนาการใช้งานให้กว้างขวางแก่สัตว์น้ำทั่วทุกภาคส่วนทุกพื้นที่ทั่วไทย" https://farmokl2512.blogspot.com/2019/11/blog-post_11.html?m=1>>>คลิ๊กเลย

อนุญาตแชร์แบ่งปันความรู้ไปตามกลุ่มคนเลี้ยงกุ้ง เกษตรอินทรีย์ การเกษตรทุกชนิด
______________________________
#เกษตรกรรม #กุ้งขี้ขาว #โรคตัวแดงดวงขาว #โรคกุ้งEHP-SHIV #กุ้งEMS #โรคธอร่า #โรคกุ้งระบาด #กุ้งตะกอนเข้าเหงือก #กุ้งแคระแกรน #กุ้งตัวลีบผอม #กุ้งกิ๊กโก๋หัวโตหางลีบ #เกษตรอินทรีย์ #ออแกนิก #การเกษตรทุกชนิด #เลี้ยงสัตว์ #ไคโตซาน #ฟาร์มOK #ไคโตซานฟาร์มOK #healthfoods #แม่ค้าขายออนไลน์ #จุลินทรีย์ #น้ำเสีย #แพลงตอนบลูม #ไนไตรท์ขึ้น #แอมโมเนีย #น้ำหนืด #น้ำขุ่น











_____________________________