วันพฤหัสบดีที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2561

"พิชิตกุ้งขี้ขาว คอนเฟริม์ ขี้ขาวหายชัวร์ ขี้ขาวหายจริงๆ"

ขี้ขาวหาย เพียง 7 วันเท่านั้น!



✍ไคโตซาน ฟาร์ม OK แก้ปัญหาเหล่านี้ได้ มีเราไว้เราช่วยคุณได้

✍การบำบัดโรคกุ้งขี้ขาว และโรคธอร่ากุ้งเป็นแผล,ตะคริวตัวคดงอระหว่างการเลี้ยงระยะ 30 - 50 วัน 

✍ใช้ไคโตซาน ฟาร์ม OK จำนวน 2 ลิตร ผสมน้ำสาดลงบ่อ พร้อมการตีน้ำเพื่อให้ทั่วถึงกัน อัตราการใช้กับพื้นที่บ่อเลี้ยง 1ไร่(1,600 ตรม.) ความลึก 1 เมตร

✍ใช้ไคโตซาน ฟาร์ม OK  จำนวน1 ลิตร ผสมน้ำ 3ลิตร ผสมอาหารกุ้ง 25 กิโล คลุกเคล้าให้เข้ากัน ผึ่งให้แห้ง หรือถ้าไม่มีเวลา คลุกไว้ตอนเย็น แล้วให้กุ้งกินตอนเช้า

                                  "ข้อมูลประกอบ"

✍หากกุ้งติดเชื้อโรค ในระยะแรก ยังไม่แสดงอาการออกมาให้เห็น จะแสดงออกมาก็ต่อเมื่อตับกุ้งเริ่มเสียหาย เมื่อใช้ไคโตซานฟาร์มOKไปบำบัด ต้องใช้ให้ถึง ตามอัตราการใช้งานบำบัดโรค แต่ละพื้นที่ แต่ละบ่อ และการใช้น้ำ จะไม่เหมือนกัน  บางพื้นที่ใช้ 3 วันก็หายแล้ว รวมการฟื้นฟูตับกุ้ง แผลหาย ขี้ขาวไม่มี น้ำดี กินอาหาร ลอกคราบ ประมาณ 7 - 10 วันในบางพื้นที่อาจต้องใช้เวลา 7 วันถึงหาย รวมการฟื้นฟูทุกอย่างให้กลับมา 10 กว่าวันโดยประมาณ

               

👉การใช้ไคโตซานฟาร์มOKในการในระหว่างการเลี้ยงกุ้งขาว ช่วยปรับค่าพีเอชPH ให้สมดุลระหว่างวันได้

สนใจติดต่อ:062 013 5665

ไคโตซานฟาร์มOK นวัฒกรรมเปลี่ยนโลก




นวัตกรรมจากประเทศญี่ปุ่น ไคโตซานเพียวบริสุทธิ์ 100% ไม่ผสมสารเคมี ปลอดภัยคนกินได้

เป็นสารโพลิเมอร์ชีวะภาพสกัดจากธรรมชาติ ซึ่งมีองค์ประกอบสำคัญอยู่ในเปลือกของสัตว์จำพวกกุ้ง,ปู ช่วยให้สัตว์ แข็งแรง โตไว ต่อต้านโรค ไม่เป็นพิษต่อคนและสิ่งแวดล้อม

รายละเอียด:



💥. ใช้ได้ทั้งสัตว์น้ำ , สัตว์บก , สัตว์ปีกทุกชนิด ใช้ประโยชน์จากสารอาหารที่ได้รับ อย่างคุ้มค่า เกินต้นทุน

💥. ช่วยปรับสภาพน้ำให้เหมาะสม  มีแบคทีเรีย 2 ชนิด   (1).แอคติโนมายซีส ตัวย่อยสลายทุกอย่างที่ขวางหน้า    (2).ไตรเคอดาม่า  ตัวปราบพิชิตโรคเชื้อรา หายเด็ดขาด

💥. ต้านทานโรคที่เกิดจากเชื้อรา แบคทีเรีย ช่วยให้กุ้งทนทานต่อสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง

💥. สร้างภูมิคุ้มกันให้กุ้ง  กุ้งแข็งแรง กุ้งกินอาหารได้ดี  กุ้งย่อยได้ดีมีแลคโตบาซีลัสเยอะ

💥. ปรับสภาพน้ำให้มีค่า PH คงที่  น้ำสะอาด โปร่งใส สีสวย  สารไคติน80%เป็นอาหารกุ้งครบสมบูรณ์

💥. ปราศจากสารพิษตกค้าง ปลอดภัย ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม        ปลอดสารพิษ

💥. ใช้กับบ่อเลี้ยงกุ้งขาว,กุ้งก้ามกรามเป็นโรคขี้ขาวหายขาด ขี้ขาวหายชัวร์


✍การใช้สารไคโตซาน ฟาร์ม okดูแลคุณภาพน้ำระหว่างการเลี้ยงกุ้งขาวแวนาไม
การดูแลคุณภาพน้ำสำหรับบ่อเลี้ยงกุ้งขาว หรือฟาร์มเลี้ยงกุ้งขาวถือว่าเป็นเรื่องใหญ่ เพราะเราเลี้ยงกุ้งหนาแน่นกว่ากุ้งกุลาดำในอดีต ต้องให้อาหารปริมาณมาก สิ่งขับถ่ายของกุ้งมาก ต้องใช้ออกซิเจนและแร่ธาตุในขบวนการย่อยสลายมาก ดังนั้น หากผิดพลาดเรื่องการดูแลคุณภาพน้ำก็จะส่งผลกระทบต่อการเลี้ยงกุ้งได้ ตั้งแต่ระดับต่ำสุด คือ กุ้งเครียด โตช้า ต้นทุนสูงกว่าที่ควร ไปจนถึงกุ้งอ่อนแอ เสียหาย หรือที่เรียกว่ากุ้งน๊อค จึงต้องจับก่อนกำหนด ขอแนะนำในแนวที่เข้าใจง่ายๆ ดังนี้
การดูแลคุณภาพน้ำในบ่อเลี้ยงกุ้งขาว มีหลักการสำคัญ 2 ส่วน คือ

ส่วนที่1. ดูแลให้คุณสมบัติน้ำเหมาะสมต่อกุ้งขาวที่เลี้ยง ซึ่งมีส่วนสำคัญ คือ
1.1 มีแพลงค์ตอนพืชชนิดที่ดี ปกติ คือ น้ำเขียว และไม่มีแพลงด์ตอนชนิดเซลล์ใหญ่ หรือมีระยางค์ที่อุดเหงือกหรือติดซี่เหงือกหรือให้สารกลิ่นโคลน เช่น ออสซิลาทอเรีย ไมโครซิสทิส , ลิงเบีย ซึ่งพบมากในบ่อความเค็มต่ำ หรือหากน้ำเค็มระดับหนึ่งอาจพบแพลงด์ตอนกลุ่มสีน้ำตาลหรือแดงที่มีระยางด์ เช่น นิชเชีย , ไดโนแฟลคเจลเลท #ซึ่งแต่ละปีจะเสี่ยงมากในแหล่งเลี้ยงชายฝั่ง# เพราะหากแพลงด์ตอนนี้บลูมในแหล่งน้ำ และเข้าระบบฟาร์มจะทำให้กุ้งเสียหายในวงกว้างได้
1.2 มีองค์ประกอบแร่ธาตุในน้ำที่เหมาะสม ซึ่งปกติในน้ำทะเลมีองค์ประกอบแร่ธาตุที่เหมาะสมอยู่แล้ว แต่ความเป็นจริงในบ่อกุ้งน้ำทะเลถูกเจือจางด้วยน้ำจืดที่มีองค์ประกอบแร่ธาตุต่างกันและมีแร่ธาตุน้อยกว่า จึงทำให้แร่ธาตุในน้ำแต่ละบ่อต่างกันและน้อยกว่าเกณฑ์ไปด้วย โดยเฉพาะเขตน้ำจืดหรือปลายแนวคลองที่ความเค็มน้ำต่ำกว่า 15 พี.พี.ที.
เพื่อให้คุณภาพน้ำในบ่อดี มีแร่ธาตุที่พอให้กุ้งอยู่ได้อย่างสุขสบาย เราจึงมีการฉีดพ่นฆ่าเชื้อด้วยสารไคโตซาน ฟาร์ม ok แล้วเติมแร่ธาตุในบ่อเลี้ยงตั้งแต่ช่วงเตรียมบ่อ  เช่น โคโลไมต์ แม็คนิเซียมออกไซด์ หรือ ซัลเฟต หรือ แร่ธาตุรวมที่มีจำหน่ายทั่วไป ทั้งนี้ ตามความเหมาะสมของแต่ละบ่อหรือแต่ละเขตเลี้ยง ส่วนในระหว่างการเลี้ยงก็จะเน้นที่การตรวจวัดแร่ธาตุในน้ำ อย่างน้อย 2 ตัว คือ แคลเซียม และ แม็กนีเซียมเพื่อปรับให้อยู่ในระดับที่กุ้งอยู่ได้เป็นปกติ เช่น เปลือกแข็งพอ เนื้อไม่ขุ่นและไม่ช๊อคง่าย หรือ ตัวหงิกงอผิดปกติ ค่าความกระด้าง ควรได้ 2,000 แคลเซียมต่ำสุด 120 แม็คนีเซียมต่ำสุดควรได้ 400 และอัตราส่วนควรอยู่ระหว่าง 1 : 2 ขึ้นไป แต่ไม่เกิน 1.4 ตามความเค็มน้ำ)
1.3 ความโปร่งของน้ำที่พอเหมาะ ซึ่งในบ่อเลี้ยงกุ้งขาวต้องให้ความสำคัญกับความโปร่งของน้ำด้วย เพราะกุ้งขาวมีซี่เหงือกเล็กกว่ากุ้งกุลาดำ หากมีแพลงก์ตอนเซลล์ใหญ่ หรือ มีระยางค์ หรือหากมีตะกอนในน้ำมากเกินไป หรือ มีแพลงด์ตอนตายพร้อมกันมาก ๆ จนซากจับตะกอนกระจายในน้ำ หรือมีสารเมือกจากแพลงด์ตอนทำให้น้ำหนืดกว่าปกติ สิ่งเหล่านี้ล้วนติด หรือ เคลือบซี่เหงือกกุ้ง จนทำให้ซี่เหงือกทำหน้าที่ถ่ายเทแอมโมเนียและคาร์บอนไดออกไซด์ออก และนำออกซิเจนเข้าสู่ตัวกุ้งได้ยากยิ่งขึ้น เราจึงต้องรักษาคุณภาพน้ำให้โปร่งพอที่กุ้งอยู่ได้อย่างสุขสบาย และหากมีปัญหาก็ต้องแก้ไข
โดยทำควบคู่กับการเพิ่มออกซิเจนในน้ำให้คงระดับสูงกว่าปกติ เพื่อให้กุ้งคงอยู่ในบ่ออย่างเป็นปกติจนกว่าจะแก้ไขปัญหาได้เรียบร้อย
1.4 มีระดับความเป็นกรดด่างที่พอเหมาะและไม่เสี่ยง โดยทั่วไปทราบกันดีแล้วว่า ควรมีระดับ พี.เอช. ในรอบวันที่ระหว่าง 7.5 - 8.5 เพื่อให้อยู่ในระดับที่กุ้งอยู่ได้และเสี่ยงภาวะพิษจากสารที่อาจก่อโทษในกุ้ง 2 อย่าง คือ ก๊าซไข่เน่า (H+2S) และ แอมโมเนีย (NH3) ซึ่งก๊าซไข่เน่าจะยิ่งเป็นพิษมากถ้า พี.เอช . ต่ำกว่า 7.5 และ แอมโมเนียยิ่งเป็นพิษมาก ถ้า พี.เอช. สูงกว่า 8.5 แต่ที่จริงถ้าให้เหมาะควรให้น้ำในบ่อกุ้งมี พี.เอช ระหว่าง 7.7 - 8.2 จะยิ่งช่วยให้ลดความเสี่ยงต่อภาวะพิษจาก ก๊าซไข่เน่าและแอมโมเนียได้ดีที่สุด
ดังนั้น ระหว่างการเลี้ยงกุ้งขาว ควรรักษาระดับ พี.เอช. ให้พอเหมาะอยู่เสมอ โดยการคุมอาหารไม่ให้พลาดและให้มีออกซิเจนในน้ำสูงพอสำหรับกุ้ง และให้มีจุลินทรีย์ชนิดที่ใช้ออกซิเจนช่วยย่อยสลายที่พื้นบ่อ และเฝ้าระวังไม่ให้ พี.เอช. แกว่งสูงและต่ำเกินไป หากเกิดขึ้นควรเตรียมการและแก้ไขปัญหาได้เรียบร้อยก่อนที่กุ้งต้องเครียดจนชะงักหรือเสียหาย โดยการลดอาหาร เพิ่มการตีน้ำ ถ่ายน้ำบางส่วน (ถ้ามีและถ่ายได้) หรือใช้สารไคโตซาน ฟาร์ม okซึ่งมีกลุ่มกรดเป็นด่างเข้าช่วยเมื่อจำเป็น
ส่วนที่2. มีออกซิเจนในน้ำที่ระดับเพียงพอต่อการใช้ของกุ้ง
โดยปกติ ทราบกันดีอยู่แล้วว่า ออกซิเจนสำหรับเลี้ยงกุ้งขาวควรจะไม่ต่ำกว่า 4.5 โดยการตีน้ำให้ฟุ้งหรือพ่นอากาศลงในน้ำ #โดยเฉพาะในตอนกลางคืนหรือช่วงกลางวันที่ฟ้าปิดไม่มีแสงแดด# ควบคู่การจัดการในการสะสมออกซิเจนที่แพลงด์ตอนผลิตขึ้นในตอนกลาง
การรักษาระดับออกซิเจนให้สูงกว่า 4.5 ทำได้โดย
2.1 การใช้อุปกรณ์ตีน้ำรวมกับแพลงด์ตอน
ตอนกลางวัน - หากมีแสงแดด แพลงด์ตอนจะผลิตออกซิเจนละลายในน้ำจนสูงมาก เราเพียงช่วยเคล้าน้ำเบา ๆ เพื่อให้มีระดับออกซิเจนในน้ำสูงไว้ จนถึงพลบค่ำ
- หากไม่มีแสงแดด (ฟ้าปิด) ก็ตีน้ำเพิ่มขึ้น เพื่อให้ออกซิเจนในน้ำสูงพอ
ตอนกลางคืน - ตีน้ำเต็มที่ เพื่อยันระดับออกซิเจนไม่ให้ต่ำกว่าเป้าหมาย ทั้งนี้ ควรวัดออกซิเจนในน้ำ ประกอบการเปิดอุปกรณ์ตีน้ำ เพิ่มออกซิเจน
2.2 การดูแลสภาพแวดล้อมในบ่อเลี้ยงให้ดีอยู่เสมอ เพื่อลดค่าใช้จ่ายการตีน้ำถือเป็นเรื่องสำคัญ เพราะหากให้อาหารเกิน หรือกุ้งแน่นต้องให้อาหารมาก จะเกิดการย่อยสลายสารอินทรีย์ส่วนเกินมากกว่าปกติ ทำให้น้ำเข้มเร็วและเข้มจัด ตอนกลางคืนจะเกิดการแย่งใช้ออกซิเจน ทั้ง จุลินทรีย์ แพลงด์ตอน และกุ้งในบ่อ #กุ้งใช้น้อยกว่าจุลินทรีย์และแพลงด์ตอนด้วยซ้ำ# ดังนั้น ถ้าคุมอาหารได้ดี จะทำให้ตัวใช้ออกซิเจนทั้งจุลินทรีย์และแพลงด์ตอนไม่มากเกินไป ก็สามารถประหยัดการใช้อุปกรณ์ตีน้ำ
ได้ระดับหนึ่ง แต่ทั้งนี้ ควรเตรียมอุปกรณ์สำรองให้เกินการใช้ไว้ทุกบ่อ เพื่อป้องกันภาวะฉุกเฉินหรืออุปกรณ์บางส่วนเสียหาย
"ข้อมูลประกอบ"
💥. ช่วงฤดูร้อน น้ำร้อน จุลินทรีย์จะบลูมเร็วมาก หากอาหารเกิน หรือแพลงด์ตอนดรอป จะทำให้เกิดการหมักและขาดออกซิเจนเร็วมาก จึงควรติดตามดูแลเป็นพิเศษ จากการทดลอง พบว่า หากจุลินทรีย์บลูมมาก ๆ ออกซิเจนในน้ำจะลดลงหรือไม่เพิ่มมากแม้จะเป็นช่วงกลางวันซึ่งจะมีผลให้ขาดออกซิเจนอย่างรุนแรงในคืนแรก ๆ ที่เริ่มมีปัญหาน้ำหมัก
💥. กรณีแพลงด์ตอนดรอป และมีสภาพน้ำหนืด ต้องตีน้ำเพิ่มกว่าวันปกติอีกระดับหนึ่ง #วัดออกซิเจนประกอบ#
💥. ควรจัดตั้งอุปกรณ์ โดยคำนึงถึง
น้ำหมุนเวียนในเขตเลี้ยงไม่เชี่ยวเกินไป เพื่อลดภาระหนักในการว่ายทวนน้ำของกุ้ง และป้องกันตะกอนอาหารเข้าเขตเลนเร็วเกินไป
💥กุ้งกินซ้ำไม่ทันหรือกุ้งตามไปกินตะกอนในเขตชายเลนที่ออกซิเจนต่ำ
กว่าปกติ
💥ให้น้ำเขตเลนเคล้าทั่วถึง เพื่อไม่ให้เกิดสภาพขาดออกซิเจนบริเวณหน้าเลน จะป้องกันการย่อยสลายแบบไม่ใช่ออกซิเจนซึ่งจะให้ก๊าซที่เป็นพิษต่อกุ้งได้ #ช่วยให้กุ้งที่เข้าเขตเลนมีออกซิเจนใช้อย่างพอเพียงด้วย#
💥. มีข้อมูลสรุปชัดเจนว่า การจัดการเลี้ยงดี ตรวจวัดออกซิเจนและปรับ
ใช้อุปกรณ์ตีน้ำอย่างเหมาะสม จะช่วยลดต้นทุนพลังงานได้ดีกว่ารายที่ตีน้ำต่อเนื่อง แบบเดิมประมาณ
20 - 40 % (เฉลี่ย 30 %)
💥. เพื่อความไม่ประมาท ควรมีสารไคโตซาน ฟาร์ม okเพิ่มออกซิเจนติดฟาร์มไว้เสมอตลอดช่วงที่มีการเลี้ยงกุ้ง เพื่อแก้ไขปัญหาออกซิเจนตกอย่างไม่คาดคิด #ถ้าไม่ต้องใช้ถือว่าดี และไม่ต้องเปลืองเงิน#
💥. หากมีอุปกรณ์และความพร้อมจำกัด ควรปรับการเลี้ยงโดยเลี้ยงกุ้งเฉพาะกลางวัน ให้อาหาร 3 เวลา และตีน้ำรักษาระดับออกซิเจนให้กุ้งอยู่ได้ตลอดกลางคืน ซึ่งจะลดความเสี่ยงได้มาก และตอนกลางคืนกุ้งยังช่วยเก็บเศษอาหารที่ตกค้างเพื่อบำบัดพื้นบ่อให้อีกทางหนึ่งด้วย
✍กุ้งเป็นโรคขี้ขาวเกิดจากหลายๆสาเหตุ
อาการขี้ขาวเป็นอาการที่คนเลี้ยงกุ้งสามารถพบได้ทุกช่วงของการเลี้ยงตั้งแต่อายุ 25 วันจนถึงจับ แต่จากการเก็บข้อมูลที่มีปัจจุบันพบว่าช่วงที่มีพบเริ่มต้นคืออายุประมาณ 45-60 วัน และนับวันจะเป็นปัญหาที่รบกวนเกษตรกรเป็นอย่างมากในแต่ละปี การเกิดโรคขี้ขาวขั้นรุนแรงมากรักษาไม่หาย

หากเป็นขี้ขาวลอยมากและค่อนข้างเป็นเส้นที่ละเอียดและลอยเป็นจำนวนมาก ใช้มือบีบขี้ที่ลอยน้ำจะนุ่มละเอียด และทวีความรุนแรงภายใน 3-5 วัน จนเป็นสาเหตุให้การกินอาหารลดลงมาก และดูสภาพเซลล์ตับ-ตับอ่อน และเม็ดไขมันประกอบพบว่า กุ้งจะมีอาการตับฝ่อร่วมกับการเป็นขี้ขาว เซลล์ตับและเซลล์เม็ดไขมันไม่มีเลยโดนทำลายหมดหรือหลุดออกมาหมด(ขี้ขาวที่เห็นเมื่อส่องกล้องจะเจอแต่เม็ดไขมัน)และเกือบทุกกรณีตรวจพบเชื้อแบคทีเรียทั้งในเซลล์ตับและตับอ่อน และในลำไส้กุ้งเกิดการอักเสบ อย่างรุนแรง ปัจจุบันนี้ได้ทราบว่าทุกพื้นที่กุ้งที่เป็นขี้ขาวจากหลายๆฟาร์ม
เมื่อดูดเลือดกุ้งมาเพาะเชื้อจะพบเชื้อแบคทีเรียมากกว่าภาวะปกติหลายเท่า
ส่วนคุณภาพน้ำที่เจอพบว่ามีความสัมพันธ์กับการแก้ปัญหาขี้ขาวคือ ถ้าคุณภาพน้ำในบ่อมีปัญหาเรื่อง แอมโมเนีย แก๊สไข่เน่า ของเสียที่สะสมอยู่ก้นบ่อมานานก็ใช่ด้วย
บ่อกุ้งที่เลี้ยงกุ้งมานานหลายสิบปีมักมีหอยเจดีย์แพร่พันธุ์เต็มบ่อ เชื้อโรคสะสมเยอะ ไคโตซานฟาร์ม OK เมื่อใช้ฆ่าเชื้อในบ่อเลี้ยงไปสักระยะ หอยเจดีย์ตายได้เหมือนกัน ถ้าหากใช้อยู่เป็นประจำต่อเนื่อง

...ไคโตซานฟาร์มOK แท้ๆสายพันธุ์สั้น ไม่ต้องไปถึงญี่ปุ่น คนเลี้ยงกุ้งไม่ควรพลาด ป้องกันขี้ขาวได้ แก้โรคกุ้งขี้ขาวหายขาดถือว่าราคาไม่แพง ถ้าเทียบกับเราซื้อยาปฎิชีวนะใช้แล้วอาจหาย แต่ไม่นานก็กลับมาเป็นอีก แล้วสะสมโรค ซึ่งเป็นปัญหาใหญ่ ลองวางมือจากยาปฎิชีวนะ และตัวแก้ที่ใช้อยู่ แล้วหันมารับประโยชน์ดีๆ จากไคโตซาน ฟาร์ม OK
#ใช้แก้โรคขี้ขาวหายขาด
#ใช้ฉีดพื้นบ่อป้องกันขี้ขาว
#ใช้คลุกอาหารฆ่าเชื้อรา
#ไม่มีส่วนผสมของสารเคมี


  การป้องกันและรักษา
✍โดยการใช้ไคโตซาน ฟาร์ม OK ในกรณีเตรียมบ่อเลี้ยงกุ้ง ใช้ฉีดพ่นพื้นบ่อเลี้ยง 1 ไร่ ความลึก 1 เมตร ใช้ไคโตซาน ฟาร์ม OK จำนวน 1 ลิตร+น้ำเปล่า 200 ลิตร ปล่อยตากแดดทิ้งไว้ประมาณ 3-7 วัน ไคโตซาน ฟาร์ม OK จะไปปรับสภาพดินพื้นบ่อเลี้ยง และยั้บยั้งฆ่าเชื้อโรคแบคทีเรีย ไวรัส เชื้อรา ปรสิต ที่อยู่ใต้ดินและน้ำไม่ให้เชื้อแตกหน่อ หลังจากปล่อยน้ำลงบ่อเลี้ยงแล้ว ใช้ปรับสภาพน้ำอีกครั้งด้วย ไคโตซาน ฟาร์ม OKพื้นที่ 1 ไร่ ลึก 1 เมตร จำนวน 1 ลิตร+ผสมน้ำพอประมาณสาดลงบ่อเลี้ยง แล้วสั่งลูกกุ้งมาปล่อย ในระหว่างที่จะปล่อยลูกกุ้งลงบ่อ ควรใส่ลงในถังลูกกุ้ง 20 ซีซี. สักประมาณ 15 นาที แล้วปล่อยลูกกุ้งลงบ่อเลี้ยง ควรใช้ไคโตซาน ฟาร์ม OK ปรับสภาพน้ำเป็นประจำทุกๆ 15 วัน หรืออย่างน้อยเดือนละครั้ง หรือจะทำไซร้ก้อได้ ตลอดจนถึงจับ







"การให้อาหารกุ้ง"
#วิธีใช้...คลุกเคลือบอาหาร ในการเลี้ยงกุ้งปกติทั่วไป ใช้ไคโตซาน ฟาร์ม OK จำนวน 1 ลิตร+น้ำเปล่า 12 ลิตร คลุกเคลือบอาหารกุ้ง 100 กิโล ตากผึ่งทิ้งไว้ในร่มให้แห้งประมาณ 1 ชั่วโมง ก่อนนำไปหว่านให้กุ้งกิน หรือคลุกเคลือบอาหารค้างคืนไว้ก้อได้ ช่วยฆ่าเชื้อราในอาหารกุ้ง และบูมจุลอินทรีย์ และแลคโตบาซีลัสที่ดีอีกด้วย ทำให้กุ้งแข็งแรง มีภูมิคุ้มกันไม่ติดเชื้อโรคได้ง่าย ....
ปัญหาน้ำในบ่อเลี้ยงขุ่น
กุ้งมีซูโอแทมเนียมบนเปลือก
#การป้องกัน ถ้าสีน้ำเข้มจัดแสดงว่าค่า PH สูง  การป้องกันโดย ใช้ไคโตซาน ฟาร์ม OK เติมลงในบ่ออัตรา 2 ลิตร/ต่อบ่อเลี้ยง 1ไร่/ลึก 1 เมตร เพื่อให้ปริมาณแพลงก์ตอนลดลง สีน้ำจะจางลง  น้ำโปร่งขึ้น ลดอาหารลง และเปิดเครื่องตีน้ำให้อากาศมากขึ้น  เมื่อพื้นบ่อสะอาดขึ้น  ปัญหาซูโอแทมเนียมจะหายไปเอง
#จุดเด่น..ไคโตซานฟาร์มOKเป็นสารสกัดจากเปลือกกุ้ง เพียวบริสุทธุิ์ 100%เป็นประจุบวกมี (คนก็กินได้)
#มีสาร(Actiomycetes)แอคติโอมายซีส ช่วยส่งเสริมการทำงานของจุลอินทรีย์ ช่วยย่อยสลายของเสียที่สะสมอยู่ในก้นบ่อ
ไคโตซานแท้ๆต้องไม่มีโปรตีน ถ้ามีโปรตีนจะทำให้เกิดการเน่าเสียได้ง่าย และช่วยปลดปล่อยไนโตรเจน เพิ่มอ๊อกซิเจนในน้ำ
ช่วยปรับค่าพีเอชให้คงที่,ช่วยกำจัดสารจุลอินทรีย์,อนินทรีย์
น้ำเน่าเสีย,ก๊าซไข่เน่า,ลดกลิ่นเหม็น
#มีสาร(Trichoderma)ไตรโคเดอม่า เป็นเชื้อรา ที่กินเชื้อราด้วยกันช่วยให้เชื้อแลคโตบาซีลัสทำงานได้ดี ตับกุ้งจึงไม่ติดเชื้อโรค หรือถูกเชื้อราเกาะ ช่วยสะสมไคตินไว้สร้างเปลือกและกระตุ้นการลอกคราบง่าย
หมายเหตุ: ควรใช้ไคโตซานฟาร์ม okไปพร้อมกับจุลอินทรีย์สังเคราะห์แสง กรดอะมิโนโปรตีนวิตามินที่บำรุงกุ้งควบคู่ไปด้วย
✍ปรึกษาหรือสอบถามเพิ่มเติมในเรื่องการใช้ไคโตซาน ฟาร์ม okในการเลี้ยงกุ้งได้ระยะยาว ผู้ใช้ปลอดภัย สบายใจถึงผู้บริโภค มาเป็นเพื่อนกับเรานะค่ะ.....

ส่งข้อความและโทรฟรีด้วย LINE
https://line.me/ti/p/hJ7AGHjAZZ>>>คลิ๊กเลย
📲 062 013 5665
          "ค่าพีเอช(PH)"
#พีเอชระดับที่เหมาะสม สำหรับการเจริญเติบโตมีค่าระหว่าง 7.5 - 8.5 พีเอช(PH)
                              #ตอนเช้าไม่ควรต่ำกว่า 7.5 และตอนบ่ายไม่ควรเกิน 8.5                                                   #ถ้าหากพีเอช(PH)ตอนเช้าต่ำกว่า 7.5 กุ้งจะมีอัตรารอดต่ำและโตช้า ควรเติมไคโตซานช่วยปรับค่าพีเอช(PH)
                                      #แต่ถ้าหากพีเอช(PH)ตอนบ่ายสูงเกิน 8.5 กุ้งจะโตช้าเนื่องจากไม่ลอกคราบเปลือกจะสาก และมักพบมีซูโอแทมเนียม หรือโปรโตชัวเกาะตามผิวตัวกุ้ง
                                      #ค่าพีเอช(PH)ของน้ำตอนบ่ายที่สูงมักมีความสัมพันธ์กับสีน้ำที่เข้มจากปริมาณแพงก์ตอนที่มีอยู่หนาแน่น ดังนั้นควรควบคุมไม่ให้สีน้ำเข้มจัด ควรเติมไคโตซานช่วยปรับค่าพีเอช(PH)               
ควรใช้เป็นประจำทุกๆ ใช้ได้ไม่จำกัด
                                    #กุ้งป่วยและวิธีป้องกันโรค
โรคเปลือกผุ โรคจุดดำ,จุดสีน้ำตาล

สาเหตุ ของโรค :: เริ่มจากเปลือกเป็นแผล เนื่องจากถูกกระแทกจากการจับหรือกุ้งทำร้ายกันเอง
หลังจากนั้น แบคทีเรียจะเข้าทำลาย

อาการของโรค :: เปลือกผุกร่อนไปเรื่อยๆ โดยจะเริ่มจากเปลือกนอก จากนั้นจะลุกลามเข้าสู่ด้านใน
บริเวณที่เป็นมากที่สุดคือ ซี่เหงือก กล้ามเนื้อท้อง ปลายหาง และ ขาเดินเมื่ออาการรุนแรงกุ้งจะนอน
ตะแคงบนพื้นและเคลื่อนไหวได้เฉพาะส่วนขาเดิน หนวด

การป้องกันโรค :: ระวังการจับและการเคลื่อนย้ายระวังอย่าให้กุ้งถูกกระทบจนบาดแผลระหว่าง
การจับ

การรักษา :: ฆ่าเชื้อในน้ำโดยการใช้ไคโตซาน เลี้ยงบ่อดิน เลี้ยงบ่อผ้าใบ   ใช้ไคโตซาน ฟาร์ม OK ปรับสภาพน้ำ 2 ลิตร/ต่อบ่อ 1 ไร่ น้ำลึก 1 เมตร (1,600 ตรม.) ควรใช้สาดลงบ่อเลี้ยงทุกๆ15วัน หรืออย่างน้อยเดือนละครั้ง และใช้ไคโตซาน1 ลิตร ผสมอาหารกุ้ง 25 กิโล/ต่อน้ำสะอาด 3 ลิตร คลุกเคล้าให้กุ้งกินจนกว่าจะหาย

...โรคกุ้งแก้มดำ

สาเหตุของโรค :: เกิดจากเชื้อ แอโรโมแนส ไฮโดฟิลลา และ ฟลาโวแบคทีเรีย
อาการของโรค :: ช่องเหงือกมีสีดำ อาจดำทั้งเหงือก และฝาปิดเหงือกด้านใน
การป้องกัน :: เปลี่ยนถ่ายน้ำช่วยได้ระดับนึงเพื่อลดปริมาณเชื้อโรค ใช้ไคโตซาน ฟาร์มok ช่วยย่อยสลายของเสียและลดสารอินทรีย์ในบ่อ กรณีที่พบมีการระบายของโรคต้องทำการฆ่าเชื้อในน้ำด่วนเลยเพราะจะได้ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม

การรักษา :: ฆ่าเชื้อในน้ำโดยการใช้ไคโตซาน เลี้ยงบ่อดิน เลี้ยงบ่อผ้าใบ   ใช้ไคโตซาน ฟาร์ม OK ปรับสภาพน้ำ 2 ลิตร/ต่อบ่อ 1 ไร่ น้ำลึก 1 เมตร (1,600 ตรม.) ควรใช้สาดลงบ่อเลี้ยงทุกๆ15วัน หรืออย่างน้อยเดือนละครั้ง และใช้ไคโตซาน1 ลิตร ผสมอาหารกุ้ง 25 กิโล/ต่อน้ำสะอาด 3 ลิตร คลุกเคล้าให้กุ้งกินจนกว่าจะหาย

...โรคคอบวมคอหนอก

สาเหตุของโรค : สาเหตุของโรคยังไม่ทราบแน่ชัด มักพบในสภาพการเลี้ยง ที่บ่อเลี้ยงมีคุณภาพเลว และ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว อาจเกิดจากการติดเชื้อในระบบทางเดินอาหาร

อาการของโรค : บริเวณรอยต่อของเปลือกหัวกับปล้องแรกมีการบวมน้ำมีการอักเสบ ขอบเปลือกปล้องที่หนึ่งผุ กร่อนเป็นสีดำกุ้งที่เป็นโรคพบได้ทั้งตัวสกปรกและตัวสะอาด พบมีการตายของกุ้งตายจมน้ำตามขอบบ่อ

การรักษา : ฆ่าเชื้อในน้ำโดยการใช้ไคโตซาน เลี้ยงบ่อดิน เลี้ยงบ่อผ้าใบ   ใช้ไคโตซาน ฟาร์ม OK ปรับสภาพน้ำ 2 ลิตร/ต่อบ่อ 1 ไร่ น้ำลึก 1 เมตร (1,600 ตรม.) ควรใช้สาดลงบ่อเลี้ยงทุกๆ15วัน หรืออย่างน้อยเดือนละครั้ง และใช้ไคโตซาน1 ลิตร ผสมอาหารกุ้ง 25 กิโล/ต่อน้ำสะอาด 3 ลิตร คลุกเคล้าให้กุ้งกินจนกว่าจะหาย

...โรคทีจี

โรคทีจี พบในกุ้งขนาดใหญ่ โดยเฉพาะกุ้งก้ามสีฟ้า หรือ กุ้งตัวผู้ ส่วนกุ้งตัวเมียเป็นโรคนี้ 0–6% กุ้งก้ามกรามตัวผู้เป็นโรคนี้มากและเป็นตลอดทั้งปี กุ้งก้ามกรามที่มีอาการของโรครุนแรงจะเฉื่อยและเคลื่อนไหวช้าไม่สามารถยกก้ามขึ้นมาเสมอกับระดับลำตัวได้

อาการของโรค :: กุ้งก้ามกรามเฉื่อย อ่อนแอ เคลื่อนไหวช้าหรือไม่สามารคเคลื่อนไหวได้เลย
เนื้อขาขุ่นทั้งตัว ตับและตับอ่อนจะฝ่อขนาดเล็กลง มีเลือดคั่งบริเวณช่องทางเดินอาหารก่อนถึงกระเพาะ บางครั้งพบจุดสีน้ำตาลตามเปลือก และ เนื้อจะมีความชื้นมากกว่ากุ้งปกติ 10 % เมื่อนำไปต้มเนื้อจะร่อนออกจากเปลือก

การป้องกันโรค :: รักษาสภาพแวดล้อมของบ่อเลี้ยงให้ดีอยู่เสมอ บ่อที่เลี้ยงมานานหากพื้นบ่อ
เน่าเสีย ควรลอกเลน,โคลนออก ฉีดพ่นพื้นบ่อเลี้ยงด้วยไคโตซาน ฟาร์มok จำนวน 1 ลิตร/ต่อพื้นที่ 1 ไร่(1,600 ตรม.)/ผสมน้ำสะอาดปริมาณ 200 ลิตร ตากบ่อไว้ 3-7 วัน

การรักษาโรค :: ฆ่าเชื้อในน้ำโดยการใช้ไคโตซาน เลี้ยงบ่อดิน เลี้ยงบ่อผ้าใบ   ใช้ไคโตซาน ฟาร์ม OK ปรับสภาพน้ำ 2 ลิตร/ต่อบ่อ 1 ไร่ น้ำลึก 1 เมตร (1,600 ตรม.) ควรใช้สาดลงบ่อเลี้ยงทุกๆ15วัน หรืออย่างน้อยเดือนละครั้ง และใช้ไคโตซาน1 ลิตร ผสมอาหารกุ้ง 25 กิโล/ต่อน้ำสะอาด 3 ลิตร คลุกเคล้าให้กุ้งกินจนกว่าจะหาย

การสะสมไขมันในตับและตับอ่อน
การสะสมไขมันในตับทำให้ผลผลิตกุ้งลดลง 90 %

อาการทั่วไป : ตับและตับอ่อนจะมีสะสมของกรดไขมันอิ่มตัวมากเกินไปไปให้เนื้อเยื่อบางส่วน
ของตับหายไป เมื่อนำตับอุ่นที่ 80 องศาเซลเซียสจะกลายเป็นของเหลว เมื่อปล่อยทิ้งไว้ให้เย็นจะ
แข็งตัวเหมือนขี้ผึ้ง ตับและตับอ่อนจะมีไขมันประมาณ 45 % ของน้ำหนักแห้ง กุ้งก้ามกรามที่มีการสะสมไขมันมากที่ตับจะทำให้ตับอักเสบและพบว่ามีการตายและจมอยู่ที่พื้นบ่อ

การป้องกันโรค :: งดส่วนผสมของอาหารที่เป็นแหล่งไขมันอิ่มตัว เช่น กากมะพร้าว ไขมันสัตว์บก
เช่นน้ำมันหมู แหล่งไขมันควรใช้น้ำมันจากปลาทะเล เช่น ปลาทูน่า ปลาหมึก ซึ่งมีกรดไขมันไม่อิ่มตัวอยู่มาก

เก็บตก!! ภาพกุ้ง ที่เลี้ยงด้วย ไคโตซาน ฟาร์ม ok 












✍ติดตามเลี้ยงกุ้งขาวใช้อะไรเลี้ยงถึงไม่เป็นขี้ขาว ที่ จ.ฉะเชิงเทราได้นี่..https://farmokl2512.blogspot.com/2018/09/blog-post_19.html?m=1>>>คลิ๊กเลย

✍ติดตาม พื้นที่ไหนบ้างใช้แล้วขี้ขาวหายขาด เลี้ยงกุ้งรอดได้ที่นี่..https://farmokl2512.blogspot.com/2018/09/2538-2544-2548-340000-32000-ok-ems-ok.html?m=1>>>คลิกเลย

✍ติดตามกุ้งเป็นขี้ขาว บอกลาได้เลยได้ที่นี่..https://farmokl2512.blogspot.com/2018/09/ok.html?m=1>>>คลิ๊กเลย

✍ส่งข้อความและโทรฟรีด้วย LINE
https://line.me/ti/p/hJ7AGHjAZZ>>>คลิ๊กเลย
🆔️📲 062 013 5665