วันจันทร์ที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562

ปัจจุบันสามารถพิสูจน์ได้ว่า(ไคโตซาน)ช่วยต่อต้านเชื้อแบคทีเรียวิบริโอVintioในกุ้งได้





การประยุกต์ใช้ ไคโตซานในการเพาะเลี้ยงกุ้ง และสัตว์น้ำ 
ปัจจุบัน ไคโตซาน ได้มีการนำมาประยุกต์ใช้ ในการเพาะเลี้ยงกุ้งและสัตว์น้ำอย่างแพร่หลาย และมีการพัฒนาการใช้งานให้กว้างขวางแก่สัตว์น้ำเช่น เป็นส่วนผสมในอาหาร ช่วยเพิ่มภูมิคุ้มกันของร่างกาย และช่วยเร่งการเจริญเติบโตเป็นต้น โดยสามารถแบ่งออกเป็นการประยุกต์ใช้ในด้านต่างๆดังนี้
1.การประยุกต์ใช้ไคโตซานในด้านการเคลือบอาหารสัตว์น้ำเพื่อเพิ่มความคงตัว คือ ไคโตซานมีคุณสมบัติ ในการเพิ่มความคงตัว ให้กับอาหารสัตว์น้ำ เพิ่มประสิทธิภาพในการลอยตัว และลดการสูญเสียสภาพของอาหาร ก่อนที่สัตว์น้ำจะเข้ามาใช้ประโยชน์ ซึ่งการเพิ่มประสิทธิภาพความคงตัวนั้น จะมีผลให้ลดการเน่าเสียของน้ำ ที่เกิดจากการย่อยสลายอาหาร ที่สัตว์น้ำไม่ได้นำไปใช้ประโยชน์ ซึ่งไคโตซาน ที่นำมาเคลือบอาหารสัตว์น้ำนั้น จะมีลักษณะคล้ายฟิล์มบางๆ ซึ่งจะมีหน้าที่ลดการแตกตัวของอาหารในน้ำ โดยส่วนผสมของไคโตซานที่เหมาะสมคือ 0.16 เปอร์เซ็นต์ของปริมาณอาหาร และได้ทำการทดลองแช่อาหารสัตว์น้ำที่เคลือบไคโตซานเป็นเวลา 2 วัน พบว่าอาหารมีการแตกตัวปริมาณ 10 ถึง 20 เปอร์เซ็นต์เท่านั้น ส่วนอาหารสัตว์น้ำที่ไม่ได้เคลือบไคโตซานมีการแตกตัวประมาณ 30 ถึง 40 เปอร์เซ็นต์สูญเสียอาหาร
2. การประยุกต์ใช้ไคโตซานในด้านการเร่งการเจริญเติบโต คือ
ในปัจจุบันสามารถพิสูจน์ได้ว่า การผสมไคโตซานในอาหารสัตว์น้ำจะสามารถช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพในการเจริญเติบโตของสัตว์น้ำ ตัวอย่างเช่น การใช้ไคโตซานเป็นสารเร่งการเจริญเติบโต ปิยะบุตร และคณะ (2544) ได้ทำการทดลอง โดยเริ่มการทดลอง ที่ปริมาณการใช้สารละลาย ไคโตซานระหว่าง 10 ซีซี. ถึง 20 ซีซี. (200 พีพีเอ็ม และ 400 พีพีเอ็ม) ตามลำดับ เคลือบอาหารที่ใช้เลี้ยงกุ้งกุลาดำ ทุกๆ 1 กิโลกรัม เปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุมที่ไม่ได้ใช้ไคโตซานเคลือบอาหารที่ใช้เลี้ยงกุ้ง ทำการทดลองในพื้นที่น้ำความเค็มต่ำ (5+2 พีพีที) พบว่า ระยะเวลา 45 วัน ในการทดลอง ปริมาณไคโตซานที่ใช้ในการเคลือบอาหารกุ้ง (200 พีพีเอ็ม) มีผลต่อน้ำหนักรวม อัตรารอดเฉลี่ย น้ำหนักตัวกุ้งเฉลี่ย อัตราการเจริญเติบโตโดยเฉลี่ยต่อวันของกุ้งที่จับได้มีค่าสูงขึ้น และมีประสิทธิภาพการใช้อาหารที่ดีขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม การเพิ่มปริมาณการใช้ไคโตซาน เคลือบอาหารกุ้งมากขึ้น (400 พีพีเอ็ม) ทำให้ได้น้ำหนัก รวมของกุ้ง ที่จับได้มากขึ้น มีประสิทธิภาพ การใช้อาหารที่ดีขึ้น และอัตรารอดสูงขึ้น เมื่อเปรียบเทียบปริมาณการใช้ไคโตซานทั้ง 2 ระดับ พบว่า เพิ่มอัตราการเจริญเติบโตในกุ้งกุลาดำ - กุ้งขาวแวนนาไมได้มากขึ้น ปริมาณไคโตซานที่เหมาะสมที่ใช้ในการเคลือบอาหารกุ้งคือ (400 พีพีเอ็ม) กุ้งกุลาดำ - กุ้งขาวแวนนาไมมีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์ดีมาก และมีขนาดตัวโตที่โตสม่ำเสมอมากที่สุด ดังนั้นการใช้ไคโตซานเคลือบอาหารกุ้ง สามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการใช้อาหารและเพิ่มอัตราการเจริญเติบโตในกุ้งกุลาดำและกุ้งขาวแวนนาไมได้มากขึ้น เพราะอาหารที่ผสมไคโตซานจะมีอัตราการแลกเนื้อ(ค่าFCR)ที่ดีกว่ายิ่งขึ้น
3. การประยุกต์ใช้ไคโตซานในการเพิ่มประสิทธิภาพการลอกคราบ คือ ไคโตซานนั้นจะมีบทบาทต่อการลอกคราบโดยการที่ไคโตซานจะเป็นสารตั้งต้นที่กุ้งนำไปใช้ในการสร้างเนื้อเยื่อและเปลือกของกุ้ง โดยเอ็มไซม์ที่เกี่ยวข้องกับขบวนการลอกคราบของกุ้ง คือ เอ็นไซม์ไคติเนส ซึ่งมีบทบาทหน้าที่โดยตรงในการหมุนเวียนสารพวกไคตินอันเป็นส่วนประกอบของเปลือกแข็งภายนอก โดยไคติเนสจะย่อยเปลือกแข็งด้านนอกก่อน กระบวนการลอกคราบแล้วดูดกลับไปเก็บไว้ที่(ตับ) molting fluid สำหรับนำมาสร้างเปลือกใหม่ในครั้งต่อไปซึ่งการทำงานของไคตินเนสจะขึ้นกับฮอร์โมน ecdysteroid (Flach et ol.,1992)
4. การประยุกต์ใช้ไคโตซานในด้านการกระตุ้นภูมิคุ้มกัน คือ Lawhavinit et ol.(2006) ได้ทำการศึกษา ประสิทธิภาพไคโตซานต่อเชื้อวิบริโอ (vibrio) ที่แยกจากกุ้งกุลาดำป่วยในประเทศไทย เนื่องจากไคโตซานเป็นสารที่สามารถควบคุมการเจริญเติบโตของแบคทีเรียที่เป็นสาเหตุของโรคกุ้งได้ โดยเฉพาะโรงเรืองแสงที่มีสาเหตุจากเชื้อกลุ่มวิบริโอที่ทำความเสียหายต่อผลผลิตกุ้งกุลาดำ ในช่วงที่มีอากาศร้อนและน้ำมีความเค็มสูงพบว่า ค่าความเข้มข้นต่ำสุดของไคโตซานที่สามารถควบคุมการเจริญเติบโตเชื้อวิบริโอ Vibrio harveyi ใน น้ำเค็ม 20 พีพีที คือ ความเข้มข้นร้อยละ 0.1 ทั้งในน้ำที่มีสารอินทรีย์เข้มข้นและเจือจาง อีกทั้งความเข้มข้นของไคโตซานระหว่างร้อยละ 0.1 ถึง 1.0 ยังมีผลควบคุมเชื้อกลุ่มวิบริโอที่นำมาศึกษาทั้งหมด 47 สายพันธุ์ ดังต่อไปนี้คือ..
V.Algnolyticus
V.cholea
V.damsel
V.fluvials
V.harveyi
V.parahaemolyticus
v.vulnficus
และ Vibrio spp.จำนวน 4,2,1,4,9,16,1 และ10 สายพันธุ์ ตามลำดับ และเมื่อนำไคโตซานมาศึกษาระดับความปลอดภัยในกุ้งกุลาดำอายุ 1 เดือน ไม่พบกุ้งกุลาดำตายที่ระดับความเข้มข้นของไคโตซานร้อยละ 0.1-1.0 แต่ จะมีการตายในระดับร้อยละ 50 ที่เวลา 96 ชั่วโมง(4วัน) ที่ความเข้มข้นของไคโตซานเท่ากับร้อยละ 2.0 แสดงว่าไคโตซานสามารถนำไปพัฒนาใช้ในการเลี้ยงกุ้งกุลาดำ เพื่อป้องกันโรคเรืองแสงที่มีสาเหตุจากเชื้อกลุ่มวิบริโอ ที่ระดับความเข้มข้นไคโตซานร้อยละ 1.0 และไม่มีอันตรายต่อกุ้งกุลาดำกุ้งแวนนาไม การศึกษาในปัจจุบันสามารถพิสูจน์ได้ว่า การผสมไคโตซานในอาหารสัตว์น้ำจะสามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของระบบภูมิคุ้มกันให้กับสัตว์น้ำในการต่อต้านเชื้อแบคทีเรียวิบริโอVintioในกุ้งได้
5. การประยุกต์ใช้ไคโตซานในด้านการกำจัดของเสียในระบบบ่อเลี้ยง คือ ไคโตซานมีความสามารถในการกำจัดของเสียทั้งในรูปของสารอินทรีย์ และอนินทรีย์ในระบบเพาะเลี้ยง อีกทั้งยังมีความสามารถในการช่วยเรื่องการตกตะกอน ลดปริมาณสารแขวนลอย การดูดซับของเสียและการลดปริมาณแบคทีเรีย จากการศึกษาของ Chung et al.(2005)และ Chung(2006) พบว่าไคโตซานช่วย
-ลดความขุ่นของน้ำในระบบเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำลงได้ถึง 90%
-ลดตะกอนแขวนลอยลง 61%
-ลดปริมาณออกซิเจนที่ใช้ในปฏิกิริยา ทางเคมีของการย่อยสลายสารอินทรีย์ (COD) 69.7%
-ลดปริมาณแอมโมเนีย (NH) 89.2%
-ลดปริมาณฟอสเฟตลง 95.6%
และลดจุลินทรีย์ที่ก่อให้เกิดโรค(pathogen)อีกด้วย ซึ่งไคโตซานจะมีประสิทธิภาพสูงหรือทำงานได้ดีในระบบที่มีค่าความเป็นกรดด่าง pH ต่ำ น้ำหนักโมเลกุล (molecular weight) ของไคโตซานที่มีประสิทธิภาพสูงสุดในการกำจัดของเสียในน้ำคือ 12 มิลลิกรัมต่อลิตร จึงจะสามารถกำจัดของเสียย่อยสลายได้
6. การประยุกต์ใช้ไคโตซานในด้านการควบคุมและลดปริมาณแพลงก์ตอนพืชในบ่อเลี้ยง คือ Lertsutthiwong et al.(2009) ศึกษาการควบคุมแพลงก์ตอนพืช ในบ่อเลี้ยงกุ้งขาวแวนนาไม (Litopenaeus vannamei) พบว่าไคโตซานความเข้มข้น 40 มิลลิกรัมต่อลิตร ที่ระดับความเป็นกรดด่าง (pH)ของบ่อเลี้ยง 6.5 - 8.5 เป็นอัตราส่วนที่เหมาะสมในการควบคุมและลดปริมาณแพลงก์ตอนพืชในบ่อเลี้ยง โดยอัตราส่วนดังกล่าวสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับบ่อเลี้ยงที่มีค่าสภาพด่าง (alkalinity) ต่ำไปจนถึงบ่อเลี้ยงที่มีค่าสภาพความเป็นด่างสูงถึง 400 มิลลิกรัมต่อลิตร และเทคนิคดังกล่าวสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ดีกับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำในระบบรีไซเคิลหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่
7. การประยุกต์ใช้ไคโตซานในการเพิ่มอัตราการรอดและความทนทานต่อความเครียดของสัตว์น้ำวัยอ่อน
Niu et al.(2011) ศึกษาการเพิ่มความทนทานต่อความเครียดและอัตราการรอดของกุ้งขาวแวนนาไมวัยอ่อนระยะ postlarva โดยใช้อาหารผสมไคโตซานพบว่า กุ้งวัยอ่อนที่ได้อาหารผสมไคโตซานในอัตราส่วน 1-4 กรัมต่ออาหาร 1 กิโลกรัม จะมีอัตราการรอดสูงกว่ากุ้งวัยอ่อนที่ไม่ได้รับอาหารผสมไคโตซานอย่างมีนัยสำคัญและจากการทดสอบความทนทานต่อความเครียดของกุ้งวัยอ่อนพบว่ากุ้งวัยอ่อนที่ได้อาหารผสมไคโตซานจะมีอัตราการทนทานสูงสุดกว่ากุ้งวัยอ่อนที่ไม่ได้รับอาหารผสมไคโตซานอย่างมีนัยสำคัญ ซึ่งจากการวิเคราะห์ polynomial regression พบว่า อัตราที่เหมาะสมของการใช้ไคโตซานเป็นอาหารเสริมเพื่อเป็นการเพิ่มอัตราการรอด และความทนทานต่อความเครียดของกุ้งวัยอ่อนคือระหว่าง 2.13 - 2.67 กรัมต่ออาหาร 1 กิโลกรัม

บทสรุป...
ในกระบวนการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ มีการนำไคโตซานมาประยุกต์ใช้อย่างแพร่หลายได้แก่
1. การเคลือบอาหารสัตว์น้ำเพื่อเพิ่มความคงตัวและมีผลทำให้ลดอัตราการสูญเสีย
2. การใช้ไคโตซานเป็นสารเร่งการเจริญเติบโต
3. การใช้ไคโตซานในด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการลอกคราบ
4. การใช้ไคโตซานในด้านการกระตุ้นภูมิคุ้มกัน
5. การกำจัดของเสียในระบบเพราะเลี้ยงสัตว์น้ำ
6. การควบคุมและลดปริมาณแพลงก์ตอนพืชในบ่อเลี้ยง
7. การเพิ่มอัตราการรอด และความทนทานต่อความเครียดของสัตว์น้ำวัยอ่อน

คลิ๊กอ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่นี่....

1#"คอนเฟริม์ จบทุกปัญหาบ่อกุ้งโรคระบาด" https://farmokl2512.blogspot.com/2019/02/ok.html?m=1<<<คลิกเลย
🌿🍁🌾สนใจสั่งซื้อ - สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
✍ส่งข้อความและโทรฟรีด้วย 🆔️LINE 0620135665
https://line.me/ti/p/hJ7AGHjAZZ<<< คลิ๊กเลย

........................

2#"เลี้ยงกุ้งง่ายๆ จบทุกปัญหา การเลี้ยงกุ้ง" https://farmokl2512.blogspot.com/2019/01/blog-post.html?m=1>>>คลิ๊กเลย
🌿🍁🌾สนใจสั่งซื้อ - สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
✍ส่งข้อความและโทรฟรีด้วย 🆔️LINE 0620135665
https://line.me/ti/p/hJ7AGHjAZZ<<< คลิ๊กเลย

........................

3#"พิชิตกุ้งขี้ขาว คอนเฟริม์ ขี้ขาวหายชัวร์ ขี้ขาวหายจริงๆ" https://farmokl2512.blogspot.com/2018/12/blog-post.html?m=1>>>คลิ๊กเลย
🌿🍁🌾สนใจสั่งซื้อ - สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
✍ส่งข้อความและโทรฟรีด้วย 🆔️LINE 0620135665
https://line.me/ti/p/hJ7AGHjAZZ<<< คลิ๊กเลย

........................

4#"ประโยชน์ และ คุณสมบัติพิเศษ ของไคโตซาน ฟาร์มOK"https://farmokl2512.blogspot.com/2018/10/ok.html?m=1>>>คลิ๊กเลย
🌿🍁🌾สนใจสั่งซื้อ - สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
✍ส่งข้อความและโทรฟรีด้วย 🆔️LINE 0620135665
https://line.me/ti/p/hJ7AGHjAZZ<<< คลิ๊กเลย

.........................

5#"แก้ขี้ขาวหายจริง พื้นที่จังหวัดสงขลา"
https://farmokl2512.blogspot.com/2018/09/ok.html?m=1>>>คลิ๊กเลย
🌿🍁🌾สนใจสั่งซื้อ - สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
✍ส่งข้อความและโทรฟรีด้วย 🆔️LINE 0620135665
https://line.me/ti/p/hJ7AGHjAZZ<<< คลิ๊กเลย

..........................

6#"เทรนกำลังมาแรง!!พื้นที่ไหนบ้างใช้แล้วขี้ขาวหายชัวร์ทุกพื้นที่ทั่วประเทศ" https://farmokl2512.blogspot.com/2018/09/2538-2544-2548-340000-32000-ok-ems-ok.html?m=1>>>คลิ๊กเลย
🌿🍁🌾สนใจสั่งซื้อ - สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
✍ส่งข้อความและโทรฟรีด้วย 🆔️LINE 0620135665
https://line.me/ti/p/hJ7AGHjAZZ<<< คลิ๊กเลย

.........................

7#"กุ้งขาวใช้อะไรเลี้ยงถึงไม่เป็นขี้ขาวพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทรา" https://farmokl2512.blogspot.com/2018/09/blog-post_19.html?m=1>>>คลิ๊กเลย
🌿🍁🌾สนใจสั่งซื้อ - สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
✍ส่งข้อความและโทรฟรีด้วย 🆔️LINE 0620135665
https://line.me/ti/p/hJ7AGHjAZZ<<< คลิ๊กเลย

.........................

8#"โรคEHP และ โรค SHIV โรคระบาดในกุ้ง" https://farmokl2512.blogspot.com/2019/05/ehp-shiv.html?m=1>>>คลิ๊กเลย
🌿🍁🌾สนใจสั่งซื้อ - สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
✍ส่งข้อความและโทรฟรีด้วย 🆔️LINE 0620135665
https://line.me/ti/p/hJ7AGHjAZZ<<< คลิ๊กเลย

............................

9#"ฟาร์OK มีประโยชน์ต่อการเลี้ยงกุ้งอย่างไร" https://farmokl2512.blogspot.com/2019/05/ok.html?m=1>>>คลิ๊กเลย
🌿🍁🌾สนใจสั่งซื้อ - สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
✍ส่งข้อความและโทรฟรีด้วย 🆔️LINE 0620135665
https://line.me/ti/p/hJ7AGHjAZZ<<< คลิ๊กเลย

.............................

10#"เลี้ยงกุ้งได้ ปลอดโรค รู้เขา รู้เรา เลี้ยงกุ้งง่าย ได้กำไรทุกค๊อบ ไม่เสียเวลา - พื้นที่" https://farmokl2512.blogspot.com/2019/05/ok_16.html?m=1>>>คลิ๊กเลย
🌿🍁🌾สนใจสั่งซื้อ - สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
✍ส่งข้อความและโทรฟรีด้วย 🆔️LINE 0620135665
https://line.me/ti/p/hJ7AGHjAZZ<<< คลิ๊กเลย

...............................

11#"ไขกุญแจแห่งความสำเร็จในการควบคุมโรคระบาด EHP กับ SHIV / EMS https://farmokl2512.blogspot.com/2019/06/ehp-shiv-ems.html?m=1>>>คลิ๊กเลย
🌿🍁🌾สนใจสั่งซื้อ - สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
✍ส่งข้อความและโทรฟรีด้วย 🆔️LINE 0620135665
https://line.me/ti/p/hJ7AGHjAZZ<<< คลิ๊กเลย

.................................

12#แก้ขี้ขาวง่ายนิดเดียว..https://farmokl2512.blogspot.com/2019/09/blog-post.html?m=1>>>คลิ๊กเลย
🌿🍁🌾สนใจสั่งซื้อ - สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
✍ส่งข้อความและโทรฟรีด้วย 🆔️LINE 0620135665
https://line.me/ti/p/hJ7AGHjAZZ<<< คลิ๊กเลย






เคดิต:
เอกสารอ้างอิง...
ปิยะบุตร วานิชพงษ์พันธุ์, นบชนก ธนพงศธร และ สุวลี จันทร์กระจ่าง "การใช้ไคตินไคโตซานเป็นสารเร่งการเจริญเติบโตในกุ้งกุลาดำ" ใน การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 39 สาขาประมง สาขาอุตสาหกรรมเกษตร 5-7 กุมภาพันธ์ 2544, ครั้งที่ 33 - 37 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ทบวงมหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ 2544

ปิยะบุตร วานิชพงษ์พันธุ์ "ยุทธศาสตร์ไคติน -ไคโตซานเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจของไทย" นิตยสารสัตว์น้ำ เศรษฐกิจ ครั้งที่ 3 - 21(มีนาคม-เมษายน) : 18 - 21.
กุ้งขาวแวนาไม กุ้งกุลาดำ กุ้งแชบ๊วย กุ้งก้ามกราม กุ้งเครฟิต กุ้งมังกร กุ้งฝอย บ่อกุ้ง ฟาร์มกุ้ง ฟาร์มเพาะพันธุ์กุ้ง บำบัดน้ำเสีย ปรับค่าพีเอช ย่อยสลายแก๊สไข่เน่า ลดกลิ่นเน่าเหม็น ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม
..............................

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น