วันพฤหัสบดีที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2561

โรคกุ้งก้ามกราม มีโรคอะไรบ้าง?

  โรคกุ้งกรามกราม  มีหลายสาเหตุ เช่น จากน้ำในบ่อเลี้ยง จากพันธุ์ลูกกุ้ง จากอาหารที่ไม่ได้มาตฐาน ไม่รวมถึงสิ่งแวดล้อมอื่นๆ


โรคในกุ้งก้ามกรามมีโรคใดบ้าง?


1.โรคในกุ้งก้ามกราม 
1 .1 โรคตัวขาวอาการ ลูกกุ้งจะมีลำตัวขาวขุ่นเหมือนสีน้ำนมทั้งตัว และทยอยตายไปเรื่อยจนหมดบ่อพบในลูกกุ้งขนาดต่างๆกัน วิธีตรวจสอบ ทำได้โดยใช้ภาชนะสีดำตักลูกกุ้งขึ้นมาซึ่งทำให้เห็นลูกกุ้งตัวขาวได้ง่ายขึ้น สาเหตุ ไม่พบเชื้อโรคแบคทีเรียหรือปรสิต อาจเกิดจากความเครียดอันเนื่องมาจากสภาพน้ำที่ไม่หมาะสมที่มีปริมาณแอมโมเนียสูง วิธีป้องกันและรักษา ถ้าพบลูกกุ้งมีอาการตัวขาวเกินกว่า 50 ควรทำลายลูกกุ้งอย่างถูกสุขลักษณะ แล้วทำความสะอาดบ่อก่อนที่เพาะพันธุ์และอนุบาลลูกกุ้งชุดต่อไปถ้าลูกกุ้งเกิดอาการตัวขาวเพียงเล็กน้อย ควรรีบย้ายบ่อและลดความหนาแน่นของลูกกุ้งลงพร้อมทั้งให้อาหารที่มีคุณภาพ วิธีนี้ช่วยให้ลูกกุ้งที่ยังไม่ป่วยเจริญเติบโตต่อไปได้ 
         
1.2 โรคเรืองแสงอาการ ลูกกุ้งทยอยตายในตอนแรกแต่ต่อมาอัตราการตายสูงขึ้นและเร็วขึ้น ถ้าตรวจดูลูกกุ้งในตอนกลางคืน เห็นลูกกุ้งที่ป่วยเรืองแสงได้ สาเหตุ เกิดจากแบคทีเรียชนิดวิบริโอ Vibrio harveyi การป้องกันและรักษา แบคทีเรียชนิดเรืองแสงนี้ติดมากับน้ำทะเลจึงควรดำเนินการฆ่าเชื้อโรคในในน้ำทะเลที่นำมาใช้ในการเพาะลูกกุ้งด้วยสารเคมีเสียก่อน และถ้าพบว่า ลูกกุ้งบางบางส่วนเกิดเป็นโรคเรืองแสง ควรใช้ยาปฏิชีวนะออกซีเตตร้าซัยคลิน 10 กรัมต่อน้ำ 1000 ลิตร แช่ติดต่อกันเป็นเวลา 3-5 วันแต่ถ้าหากลูกกุ้งมากกว่า 50 เกิดเป็นโรคเรืองแสง การรักษาด้วยยาอาจจะไม่ได้ผล จึงควรทำลายลูกกุ้งชุดนั้นเสียอย่างถูกวิธีแล้วทำความสะอาดบ่อก่อนการเพาะกุ้งรุ่นต่อไป         
                             
1.3 โรคจุดดำบนเปลือกกุ้ง Shell Disease อาการ พบรอยดำหรือน้ำตาลขนาดและรูปร่างต่างๆกันบนเปลือกบริเวณหัว ลำตัวและ ระยางของกุ้ง สาเหตุ เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Aeromonas hydrophila การป้องกันและรักษา ทำความสะอาดพื้นบ่อโดยการดูดเลนออกเพื่อลดปริมาณแบคทีเรียและของเสีย แล้วเติมน้ำใหม่เข้าบ่อเพื่อกระตุ้นให้กุ้งลอกคราบ ช่วงเตรียมบ่อควรมีการพรวนดินและใช้ปูนขาวช่วย ถ้าปล่อยกุ้งหนาแน่นเกินไปควรกระจายกุ้งออกไปเลี้ยงในบ่ออื่นๆวิธีนี้ช่วยลดอัตราการเกิดโรคจุดดำไปได้มากโดยไม่จำเป็นต้องใช้ยา
 

1.4 โรคเหงือกดำและแก้มดำอาการ บริเวณแผ่นปิดเหงือกของกุ้งเป็นสีดำหรือน้ำตาลเข้ม ถ้าเปิดเปลือกบริเวณนั้นพบคราบสีดำเกาะที่ด้านในของเปลือกหรือเคลือบบริเวณเหงือกจนทำให้เห็นเหงือกเป็นรอยดำทั่วไป สาเหตุ เกิดจากการมีของเสียสะสมอยู่มากบริเวณพื้นบ่อ ทำให้กุ้งอ่อนแอเกิดการสะสมของอนุภาคดินและเกลือของธาตุเหล็กบริเวณเหงือกและแผ่นปิดเหงือกและมักมีความสัมพันธ์กับสภาพน้ำที่เป็นกรดอ่อนและสีน้ำตาลปนสนิมเหล็ก การป้องกันและรักษา ควรเตรียมบ่อให้ดีก่อนการปล่อยกุ้งลงเลี้ยง เช่น การอัดพื้นบ่อให้แน่นและโรยปูนขาวให้ทั่ว ขณะที่เลี้ยงไม่ควรให้อาหารมากเกินไปเพราะทำให้เกิดของเสียสะสมที่ก้นบ่อมาก เวลาเปลี่ยนถ่ายน้ำควรพยายามดูดเอาเลนที่ก้นบ่อออกให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้และบำบัดเสียก่อน หลังจากที่มีการเปลี่ยนถ่ายน้ำและปรับคุณภาพน้ำด้วยปูนขาวแล้วต้องดูแลคุณภาพอาหารที่ให้กุ้งกินด้วยควบคู่กันไป ข้อมูลจาก กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

สนใจติดต่อรับข้อมูลเพิ่มได้ที่นี่..บ่อกุ้งเป็นขี้ขาวใช้แล้วหายขาด http://farmokl2512.blogspot.com/2018/09/ok.html?m=1
     

สนใจติดต่อรับข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่นี่...เลี้ยงกุ้ง ไม่เป็นโรคขี้ขาว http://farmokl2512.blogspot.com/2018/09/blog-post_19.html?m=1


🌟แก้ขี้ขาวในกุ้งขาวแวนาไม
ไคโตซานฟาร์มOKสุดยอดการพัฒนาเทคโนโลยีชีวะภาพจากเปลือกกุ้ง

..เป็นนวัตกรรมจากประเทศญี่ปุ่น"เป็นฟู๊ดสเกรด"ระดับพีเมี่ยม"มีโมเลกุลอนุภาคเล็ก สามารถดูดซึมได้เร็ว..
ที่ประเทศญี่ปุ่นได้ใช้สารอาหารชีวะภาพ ในการเพาะเลี้ยงสัตว์ มานานนับหลายสิบปี ซึ่งถือได้ว่าเป็นสารอาหารจากธรรมชาติ ที่ไม่มีอันตรายต่อสัตว์และผู้เลี้ยงรวมถึงผู้บริโภค

(จุดเด่นไคโตซาน ฟาร์ม OK)

#บำบัดน้ำเสียในบ่อเลี้ยงสัตว์ทุกประเภท เช่น. บ่อกุ้ง ฯลฯ
#ดักจับสารโลหะหนัก สารแขวงลอย ที่ปะปนมากับน้ำ
ตกตะกอนลงสู่พื้นบ่อเลี้ยง
#เพิ่มภูมิคุ้มกัน ต้านทานต่อเชื้อแบคทีเรียและเชื้อไวรัส เชี้อรา ลดอัตราการสูญเสีย
#หยุดการใช้ยาปฏิชีวนะ
#คลุกเคล้ากับอาหารช่วยเรื่องระบบทางเดินอาหารและทำให้อาหารละลายน้ำช้า ลดการเกิดของเสียสะสม
#แก้โรคขี้ขาว โรคEMS โรคธอร่า
#กระตุ้นการสร้างเปลือกกุ้ง
#กระตุ้นการลอกคราบ




📶ติดต่อมาหาเราได้ที่นี่‼️โทร 0620135665

📢 ส่งข้อความและโทรฟรีด้วย ID LINE
https://line.me/ti/p/UV0-gQAt29

👉รับข้อมูลเพิ่มได้ที่นี่..บ่อกุ้งเป็นขี้ขาวใช้แล้วหายขาด http://farmokl2512.blogspot.com/2018/09/ok.html?m=1

เครดิต: sanook.com
                   


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น