วันพฤหัสบดีที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2561

บำบัดน้ำเสียในบ่อเลี้ยงกุ้ง แก้ปัญหาบ่อเลี้ยงกุ้งขี้ขาว

     (บำบัดนำเน่าเสียในบ่อน้ำทิ้ง)



ลักษณะสำคัญของระบบแอตติเวตเตดสลัดจ์

          ระบบแอตติเวตเตดสลัดจ์เป็นขบวนการบำบัดน้ำเสีย ทางชีววิทยาที่มีประสิทธิภาพในการบำบัดสูง ระบบหนึ่ง คือ ประมาณ85-95%จึงเป็นที่นิยมใช้กันมากในปัจจุบันโดยเฉพาะ อย่างยิ่งในการบำบัดน้ำเสียจากอาคารและโรงงานอุตสาหกรรม การผลิตอาหาร โดยปกติน้ำเสียจะต้องผ่านตะแกรงดักขยะ บ่อดัก ไขมัน บ่อดักกรวดทราย เพื่อแยกเอาเศษวัสดุ และตะกอน ที่มีขนาดใหญ่ออกในขั้นหนึ่งก่อน  
          จากนั้นน้ำเสียจะถูกนำเข้าสู่ระบบแอตติเวตเตดสลัดจ์ซึ่งประกอบด้วยถังเติมอากาศถังตกตะกอนและระบบสูบตะกอนย้อนกลับเครื่องเติมอากาศที่ติดตั้งอยู่ในถังเติมอากาศจะเพิ่มออกชิเจนให้กับน้ำเสียเพื่อทำให้จุลินทรีย์นำออกซิเจนไปใช้ในการย่อยสลายสิ่งสกปรกในน้ำเสียและการเจริญเติบโตเพิ่มจำนวนต่อไปน้ำตะกอนจากถังเติมอากาศจะนำเข้าสู่ถังตกตะกอนเพื่อแยกตะกอนจุลินทรีย์ออกจากน้ำที่บำบัดแล้วน้ำส่วนใสที่ไหลล้นออกจากถังตกตะกอนจะนำไปฆ่าเชื้อโรคก่อนระบายลงคูคลอง สำหรับตะกอนจุลินทรีย์ที่อยู่ก้นถังตกตะกอนส่วนหนึ่งจะถูกสูบกลับไปยังถังเติมอากาศเพื่อรักษาปริมาณตะกอนจุลินทรีย์ให้เหมาะสม ส่วนอีกส่วนหนึ่งซึ่งเป็นตะกอนส่วนเกินจะต้องนำไปกำจัดทิ้งด้วยระบบกำจัดตะกอนต่อไป

  • ภาพบ่อเลี้ยงกุ้งที่เกิดสภาวะน้ำหนืด มีกุ้งตาย


☝เช็คด่วน!!ในบ่อเลี้ยงกุ้งมีปัญหาเหล่านี้รึป่าว👇👇👇


📣สภาพน้ำขุ่น,น้ำหนืด

📣ค่าPHขึ้น-ไนไตร์สูง

📣กินอาหารลดลง

📣กุ้งล่อง-น้ำหนักลด

📣ไม่ลอกคราบ

📣เริ่มทยอยตาย หากเห็นมีอาการเหล่านี้เกิดขึ้นในบ่อเลี้ยง ระวัง!!โรคขี้ขาว - โรคEMS จะมาเยือนบ่อกุ้ง

ช่วงระยะ..ประมาณ 30 ถึง 50 วัน ตับของกุ้ง เริ่มมีการติดเชื้อโรค ตับกุ้งเสียหายแล้ว ถึงได้ขี้ออกมาเป็นขี้ขาว  วิธีการช่วยเหลือกุ้งให้รอด จากโรคขี้ขาว มีหลายวิธี เยอะมาก แต่พอใช้ไปแล้วก็กลับมาเป็นเหมือนเดิม หรือหนักกว่าเดิม ปัจจุบันยังไม่มีตัวช่วยตัวไหน แก้โรคขี้ขาวให้หายได้  การลงพื้นที่ ในหลายๆจังหวัดทำให้มองเห็นทั้งปัญหาของบ่อเลี้ยง และคนเลี้ยงกุ้ง ไม่ว่าจะแก้ปัญหาได้หรือไม่ได้ ก็ต้องเลี้ยงกันต่อไป เพราะนี่เป็นอาชีพ ของคนไทยที่มีพื้นที่เลี้ยงกุ้ง หากพบเจอปัญหาเหล่านี้ ปรึกษาได้ที่นี่...👇

📶LINE ID: 062 013 5665,
โทร.062 013 5775
................................
📶ส่งข้อความและโทรฟรีด้วย LINE ก้อได้
https://line.me/ti/p/hJ7AGHjAZZ
................................
📶รับข้อมูลเพิ่มได้ที่นี่..บ่อกุ้งเป็นขี้ขาวใช้แล้วหายขาด http://farmokl2512.blogspot.com/2018/09/ok.html?m=1

-----------------------------------------

กลไกในการทำงานของระบบแอตติเวตเตดสลัดจ์

          หัวใจสำคัญของระบบบำบัดแบบนี้ คือ อาศัยจุลินทรีย์ทั้งหลายที่มีอยู่ในถังเติมอากาศของระบบเป็นตัวย่อยสลาย สิ่งสกปรกที่มีอยู่ในน้ำเสียให้หมดไปหรือจนมีความสะอาดพอที่จะระบายทิ้งได้โดยไม่ก่อให้น้ำคูคลองเน่าเลียอีกสิ่งสกปรกในน้ำเสียที่จุลินทรีย์สามารถย่อยสลายได้ส่วนใหญ่เป็นพวกสารอินทรีย์ทั้งในรูปที่ละลายน้ำได้และในรูปของคอลลอยด์ผลผลิตสุดท้ายที่ได้จากการย่อยได้แก่ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ น้ำ เซลจุลินทรีย์ตัวใหม่ และพลังงานดังนี้
    น้ำเสีย ( สารอินทรีย์ )+จุลินทรีย์+ออกซิเจน -> คาร์บอนไดออกไซด์+น้ำ+จุลินทรีย์ตัวให้+พลังงาน
          เซลจุลินทรีย์โดยทั่วไปประกอบด้วยส่วนที่เป็นสารอินทรีย์ 70-90 % และส่วนที่เป็นสารอนินทรีย์อีก 10-30 % ดังนั้น จะเห็นได้ว่าสารอินทรีย์ซึ่งเป็นสิ่งสกปรกส่วนใหญ่ในน้ำเสียจะถูกเปลี่ยนมาเป็นเซลของจุลินทรีย์นั่นเองเนื่องจากตะกอน จุลินทรีย์มีน้ำหนักมากกว่าซึ่งสามารถแยกออกจากน้ำได้ง่ายด้วยถังตกตะกอน



✔ เกษตรกรท่านใด กำลังมองหาผลิตภัณฑ์ที่ใช้ กับ ฟาร์มกุ้ง - บ่อเลี้ยงกุ้ง ใช้แล้วตอบโจทย์ เห็นผลเร็ว ไม่ต้องรอนาน ลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต ลดอัตราการสูญเสีย ลดระยะการเลี้ยงสั้นลง นวัตกรรมนาโน  เหมาะแก่  เกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์บกและสัตว์น้ำทุกชนิด  นำเสนอ.. ไคโตซาน ฟาร์ม OK น้องใหม่มาแรง ปี 2018

⛳ไคโตซาน ฟาร์ม OK⛳

(บำบัดน้ำเน่าเสียในบ่อเลี้ยง)
นวัตกรรมจากประเทศญี่ปุ่น
ไคโตซานเพียว100% เข็มข้น ไม่ผสมสารเคมี

📶เป็นสารโพลิเมอร์ชีวภาพสกัดจากธรรมชาติ ซึ่งมีองค์ประกอบสำคัญอยู่ในเปลือกของสัตว์จำพวกกุ้ง,ปู ช่วยให้ทั้งพืชและสัตว์ แข็งแรง โตไว ต่อต้านโรค ไม่เป็นพิษต่อคน และสิ่งแวดล้อม

📶ด้วยคุณสมบัติของไคติน และไคโตซานที่สามารถดูดซับ และดักจับกับสารอินทรีย์จำพวกไขมัน สี รวมถึงจำพวกโลหะหนักได้ดี จึงนำมาประยุกต์ใช้สำหรับเป็นสารกรอง หรือดูดซับสารมลพิษใน"ระบบบำบัดน้ำเสีย" ช่วยปรับค่า PH ให้คงที่ ปราศจากสารพิษตกค้าง ปลอดภัยไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม

📶หากท่านมีปัญหาเหล่านี้โทรมาปรึกษาได้ค่ะโทร 062 013 5665 , 092 734 3940


📶สนใจติดต่อรับข้อมูลเพิ่มเติมบำบัดบ่อเลี้ยง : https://farmokl2512.blogspot.com/2018/10/blog-post_13.html?m=1

.........................................
ส่วนประกอบที่สำคัญ ของระบบแอคติเวตเตดสลัดจ์

          ส่วนประกอบที่สำคัญ ของระบบแอคติเวตเตดสลัดจ์ ระบบบำบัดแบบนี้มีส่วนประกอบที่สำ คัญอยู่ 3 ส่วนคือ
1. ถังเติมอากาศ ( Areation Tank )
          ทำหน้าที่เป็นถังเลี้ยงตะกอนจุลินทรีย์ให้เจริญเติบโตและเพิ่มจำนวนให้เพียพอต่อการย่อยสลาย สารอินทรีย์ในน้ำเสีย โดยการบำบัดสิ่งสกปรกต่างๆ ของระบบจะเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์ในถังนี้ ภายถังในเติมอากาศจะติดตั้งเครื่องเติมอากาศ (Aerator) ไว้เพื่อเพิ่มออกซิเจนให้แก่น้ำเสีย รวมทั้งเป็นเครื่องกวนน้ำเสียให้สัมผัสกับจุลินทรีย์ไปในตัวด้วย
2. ถังตะกอน (Sedimentation Tank)
          ทำหน้าที่เป็นถังแยกตะกอนจุลินทรีย์ออกจากน้ำที่บำบัดแล้วซึ่งส่งมาจากถัง เติมอากาศโดยน้ำตะกอนจะถูกกักอยู่ในถังนี้ช่วงเวลาหนึ่ง น้ำส่วนใสจะไหลล้นไป ส่วนตะกอนที่อยู่ก้นถังส่วนหนึ่งจะถูกสูบกลับไปยังถังเติมอากาศอีกครั้ง และอีกส่วนหนึ่งจะเป็นตะกอนส่วนเกินทีต้องนำไปกำจัด
3. ระบบสูบตะกอนย้อนกลับ (Sludge Recycle)
          ทำหน้าที่สูบตะกอนจุลินทรีย์ที่แยกออกจากน้ำส่วนใสแล้วกลับมายังถังเติมอากาศอีกครั้งทั้งนี้เพื่อควบคุมปริมาณจุลินทรีย์ ในถังเติมอากาศให้เหมาะสม และเพียงพอต่อการทำลายสิ่งสกปรกในน้ำเสีย



💢ไคโตซาน ฟาร์ม OK มีหน้าที่และบทบาทที่สำคัญในการเลี้ยงกุ้ง  "หากกุ้งเป็นขี้ขาวขั้นรุนแรง" เราควรมองประเด็นแบคทีเรีย หรือการร่วมกันระหว่างแบคทีเรียและพยาธิในลำไส้ ดังนั้นควรกินสารที่ใช้ในลำไส้ได้จริง ๆ และมีสารที่มีประสิทธิภาพในการสมานแผลและเคลือบลำไส้ ที่สำคัญทุกครั้ง ที่เราแก้ปัญหาขี้ขาวในลำไส้ในตัวกุ้งจำเป็นต้องจัดการเชื้อในน้ำทุกครั้ง โดยการใช้ "ไคโตซาน ฟาร์ม OK" ตัดขบวนการของเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา เชื้อไวรัส ปรสิต เพราะเชื้อโรคไม่ได้มีอยู่แค่ในตัวกุ้ง 

🌟ณ.ปัจจุบันตรวจพบการระบาดของโรคกุ้งขี้ขาว ในทุกพื้นที่ และช่วงอากาศเปลี่ยน ป้องกันเฝ้าระวัง ฆ่าเชื้อโรคระบาดกันทั่วทุกภาค

🌟"ไคโตซาน ฟาร์ม OK "เป็นนวัตกรรมจากประเทศญี่ปุ่น"เป็นฟู๊ดสเกรด"ระดับพีเมี่ยม"มีโมเลกุลอนุภาคเล็ก สามารถดูดซึมได้
เร็ว...  
 🌟ที่ประเทศญี่ปุ่นได้ใช้ป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อโรคแบคทีเรีย เชื้อไวรัส เชื้อรา ปรสิต ฆ่าเชื้อโรคใช้ได้ตั้งแต่การเตรียมบ่อเลี้ยง และระหว่างการเลี้ยงถึงจับหรือสารเคมีที่กำจัดเชื้อแบคทีเรียได้เพราะไม่ว่าเราจะจัดการในตัวกุ้งได้ดีเพียงไร แต่ในน้ำไม่ได้รับการแก้ไขเลย ปัญหาก็ยังอยู่

📌จุดเด่นไคโตซาน ฟาร์ม OK

❌บำบัดน้ำเสียในบ่อเลี้ยงสัตว์ทุกประเภท เช่น. บ่อกุ้ง ฯลฯ 

❌ดักจับสารโลหะหนัก สารแขวงลอย ที่ปะปนมากับน้ำ ตกตะกอนลงสู่พื้นบ่อเลี้ยง

❌เพิ่มภูมิคุ้มกัน ต้านทานต่อเชื้อแบคทีเรียและเชื้อไวรัส เชี้อรา ลดอัตราการสูญเสีย

❌หยุดการใช้ยาปฏิชีวนะ

❌คลุกเคล้ากับอาหารช่วยเรื่องระบบทางเดินอาหาร ช่วยย่อย และทำให้อาหารละลายน้ำช้า ลดการเกิดของเสียสะสม

📌แก้โรคขี้ขาว โรคEMS โรคธอร่า รับประกันไม่มีแน่ๆๆๆๆๆ
................................
📶LINE ID: 062 013 5665,
โทร.062 013 5775
................................
📶ส่งข้อความและโทรฟรีด้วย LINE ก้อได้
https://line.me/ti/p/hJ7AGHjAZZ

................................
📶รับข้อมูลเพิ่มได้ที่นี่..บ่อกุ้งเป็นขี้ขาวใช้แล้วหายขาด http://farmokl2512.blogspot.com/2018/09/ok.html?m=1
.................................
📶รับข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่นี่...เลี้ยงกุ้ง ไม่เป็นโรคขี้ขาว http://farmokl2512.blogspot.com/2018/09/blog-post_19.html?m=1
.................................

ตัวแปรสำหรับการควบคุมระบบแอตติเวตเตดสลัดจ์

          ตัวแปรสำคัญที่ใช้ควบคุมการทำงานของระ บบแอคติเวตเตดสลัดจ์ มีอยู่ 2 ตัวแปรดังนี้ 
1. อายุตะกอน (Sludge Age)
         อายุตะกอน หมายถึงระยะเวลาเฉลี่ยที่ตะกอนจุลินทรีย์หมุนเวียน อยู่ในถังเติมอากาศการควบคุมกระทำได้โดยการนำตะกอนส่วนเกินออกจากระบบ ดังนั้นจึงสามารถควบคุมให้มีค่าคงทีได้ตามต้องการ โดยทั่วไปจะควบคุมให้มีระบบอายุตะกอน 5-15 วัน
2. อัตราส่วนอาหารต่อจุลินทรีย์( F/M ratio )
          F/M ratio หมายถึง อัตราส่วนของน้ำหนักสารอินทร ีย์ในน้ำเสียที่เข้าระบบ ( กิโลกรัมต่อวัน ) ต่อน้ำหนักตะกอน จุลินทรีย์ในระบบ ( กิโลกรัม ) โดยทั่วไปจะควบคุมให้ระบบมีค่า F/M ratio ระหว่าง 0.1-0.4 ต่อวันคุณสมบัติของน้ำเสีย มักมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาทั้งในแง่อัตราการไหลและความเข้มข้นของสารอินทรีย์ที่เข้าสู่ระบบทำให้การควบคุมระบบ โดยใช้ F/M ratio กระทำได้ยากและมีความไม่แน่นอน ในทางปฏิบัติจึงนิยมควบคุมระบบโดยอายุตะกอนมากกว่า


ปัญหาสำคัญในการควบคุมระบบแอตติเวตเตดสลัดจ์

          ปัญหาที่พบมากที่สุดในการควบคุมระบบแอตติเวตเตดสลัดจ์ มี 2 ปัญหาคือ ปัญหาการลอยตัวของตะกอนในถังตะกอน (Rising Sludge) และปัญหาตะกอนเบาจมตัวลำบาก (Bulking Sludge)
1. การลอยตัวของตะกอนในถังตกตะกอน
          สาเหตุเนื่องมาจาก ตะกอนตกอยู่ในก้นถังตกตะกอนนานเกินไปจนทำให้เกิดปฏิกิริยาชีวเคมีเปลี่ยนสารประกอบ ไนไตรท์และไนเตรตเป็นก๊าซไนโตรเจน ก๊าซที่เกิดขึ้นจะถูกกักอยู่ในตะกอนถ้ามีมากจะพาตะกอนลอยขึ้นสู่ผิวน้ำ
2. ตะกอนเบาจมตัวลำบาก
          ในระบบแอคติเวตเตดสลัดจที่มีประสิทธิภาพการบำบัดสูงตะกอนจุลินทรีย์ในถังเติมอากาศจะมีสีน้ำตาลแก่จับกัน เป็นก้อนใหญ่และจมตัวได้อย่างรวดเร็ว ในกรณีที่เกิดตะกอนเบานั้นจะเป็นตะกอนละเอียดจมตัวได้ช้าและไม่อัดตัวแน่นสาเหตุ มีสองประการคือ อาจเกิดจากเชื้อราที่เป็นเส้นใย หรืออาจเกิดจากมีน้ำอยู่ในตะกอนระหว่างเซลของจุลินทรีย์มากทำให้ตะกอน มีความหนาแน่นเกือบเท่ากับน้ำจึงจมตัวได้ลำบาก



❌ไคโตซาน ฟาร์ม OK❌
(บำบัดน้ำเน่าเสียในบ่อเลี้ยง) 
 นวัตกรรมจากประเทศญี่ปุ่น
ไคโตซานเพียว100% เข็มข้น ไม่ผสมสารเคมี

❌เป็นสารโพลิเมอร์ชีวภาพสกัดจากธรรมชาติ ซึ่งมีองค์ประกอบสำคัญอยู่ในเปลือกของสัตว์จำพวกกุ้ง,ปู ช่วยให้ทั้งพืชและสัตว์ แข็งแรง โตไว ต่อต้านโรค ไม่เป็นพิษต่อคน และสิ่งแวดล้อม

❌ด้วยคุณสมบัติของไคติน และไคโตซานที่สามารถดูดซับ และดักจับกับสารอินทรีย์จำพวกไขมัน สี รวมถึงจำพวกโลหะหนักได้ดี จึงนำมาประยุกต์ใช้สำหรับเป็นสารกรอง หรือดูดซับสารมลพิษใน"ระบบบำบัดน้ำเสีย" ช่วยปรับค่า PH ให้คงที่ ปราศจากสารพิษตกค้าง ปลอดภัยไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม

📶 วิธีใช้ กรณีเตรียมบ่อฉีดพื้นบ่อเลี้ยง 1 ไร่ ความลึก 1 เมตร ใช้ไคโตซาน ฟาร์ม OKจำนวน 1 ลิตร+น้ำเปล่า 200 ลิตร ปล่อยตากแดดทิ้งไว้ประมาณ 2-3 วัน ไคโตซาน ฟาร์ม OK จะไปปรับสภาพดินพื้นบ่อเลี้ยง และยั้บยั้งฆ่าเชื้อโรคแบคทีเรีย ไวรัส เชื้อรา ปรสิต ที่อยู่ใต้ดินและน้ำ หลังจากปล่อยน้ำลงบ่อเลี้ยงแล้ว ใช้ปรับสภาพน้ำอีกครั้งด้วย ไคโตซาน ฟาร์ม OKพื้นที่ 1 ไร่ ความลึก 1 เมตร จำนวน 1 ลิตร+ผสมน้ำพอประมาณสาดลงบ่อเลี้ยง แล้วสั่งลูกกุ้งมาปล่อย ใช้ไคโตซาน ฟาร์ม OKปรับสภาพน้ำทุกๆ 7- 10 วัน ตลอดจนถึงจับกุ้งขาย




*ยืนยันการโอน พร้อมถ่ายรูปบัตรประชาชน เพื่อเปิดบิลครั้งแรก ที่อยู่จัดส่งสินค้า
*สินค้าพร้อมจัดส่ง EMS ด่วน  รอการติดต่อกลับ และรับสินค้าที่บ้านค่ะ
*ยืนยันการโอนก่อนบ่ายโมง  ได้รับสินค้าในวันถัดไปค่ะ
*หมายเหตุ: บริษัทหยุดทุกวันพุธ รถเคอรี่หยุดทุกวันอาทิตย์ และนขัตฤกษ์






................................

เครดิต:sanook.com

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น