วันพุธที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2561

ประโยชน์ของไคโตซานฟาร์มOK

ประโยชน์ของไคโตซานฟาร์มOK



ไคโตซาน (chitosan) และไคติน (chitin) เป็นสารพอลิเมอร์ชีวภาพที่ถูกนำมาใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวางในปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นทางด้านอุตสาหกรรม ทางด้านการแพทย์ การเกษตร เครื่องสำอาง และทางด้านอาหาร รวมถึงทางด้านอื่นๆอีกมาก

ไคโตซาน (chitosan) หรือเรียก deacetylated chitin เป็นไบโคโพลีเมอร์ที่เกิดจาก

glucosamine และ N- acetylglucosamineประกอบด้วย glucosamine มากกว่า 90 เปอร์เซ็นต์ จัดเป็นสารอนุพันธุ์ของไคตินที่ผลิตได้จากการทำปฏิกิริยากับด่างเข้มข้นเพื่อกำจัดหมู่อะซิติลออก ทำให้โมเลกุลเล็กลง และมีคุณสมบัติที่อ่อนตัวสามารถขึ้นรูปเป็นเจล เม็ด เส้นใย หรือคอลลอยด์ รวมถึงการใช้ประโยชน์ในรูปแบบต่างๆได้มากขึ้น นอกจากนั้น ไคโตซานประกอบด้วยหมู่อะมิโน (-NH2) และหมู่ไฮดรอกซิล (-OH) ที่สามารถทำปฏิกิริยากับสารอื่นเปลี่ยนเป็นสารอนุพันธ์อื่นๆได้หลากหลาย

"ประโยชน์ของไคโตซาน และ ไคติน"


ในปัจจุบันนิยมนำไคโตซาน และไคตินทั้งสองรูปมาใช้ประโยชน์ แต่ส่วนมากจะใช้ประโยชน์ในรูปของไคโตซานมากกว่า

1. ทางการแพทย์

ไคโตซานเป็นสารที่มีคุณสมบัติที่ดีที่สามารถนำมาใช้ในทางการแพทย์ได้หลายรูปแบบ สามารถเตรียมได้ในรูปแบบเม็ดเจล ,แผ่นฟิล์มฟองน้ำ, เพลเลท, แคปซูล และยาเม็ด เป็นต้น

ไคโตซาน และอนุพันธ์ใช้ป้องกันฟันผุ เช่น เอซิลีนไกลคอน-ไคติน, คาบอกซีเมทิล-ไคติน, ซัลเฟตเตด ไคโตซาน และฟอสฟอไลเลตเต็ด ไคติน สามารรถยับยั้งการจับ และก่อตัวของแบคทีเรียบนผิวฟันที่เป็นสาเหตุของฟันผุได้ดี

ไคตินหรือไคโตซานซัลเฟตสามารถยับยั้งการแข็งตัวของเลือด และปลดปล่อย lipoprotein lipase โดยนำมาประยุกต์ใช้ในขั้นตอนการฟอกเลือดเพื่อป้องกันการแข็งตัวของเลือด นอกจากนี้ยังใช้สำหรับรักษาแผล และป้องกันการติดเชื้อของแผลได้ดี

2. การเกษตร

ด้านการเกษตรนิยมใช้ไคติน ไคโตซานในหลายด้านด้วยกัน อาทิ

การใช้เคลือบเมล็ดพันธุ์พืช ป้องกันโรค แมลง การเน่าเสียจากจุลินทรีย์ และยืดอายุการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์

ใช้เร่งการเจริญเติบโตของพืช ทำหน้าที่เป็นฮอร์โมนกระตุ้นการเกิดราก

ใช้สำหรับปรับปรุงดิน เพิ่มธาตุอาหารในดิน ปรับปรุงดินเค็ม ปรับปรุงดินที่เป็นกรดเป็นด่าง

3. ยา

ไคโตซานที่ใช้เป็นส่วนผสมในยาชนิดต่างๆ จะใช้ทำหน้าที่ป้องกันการย่อยสลายของยาบริเวณกระเพาะอาหาร ซึ่งเป็นสารควบคุมการปล่อยยาหรือเป็นตัวนำส่งยาเข้าสู่ระบบไหลเวียนโลหิต

4. อุตสาหกรรมอาหาร

ใช้เป็นอาหารเสริมที่สามารถให้พลังงาน และช่วยลดปริมาณคอเลสเตอรอลชนิด LDL รวมถึงไขมันจำพวกไตรกลีเซอไรด์ในเลือดได้ดี ด้วยการจับตัวกับกลุ่มไขมันทำให้ลดการดูดซึมบริเวณลำไส้จึงนิยมนำไคโตซานผลิตเป็นอาหารเสริมเพื่อลดน้ำหนัก

ป้องกันเชื้อจุลินทรีย์ในอาหาร ด้วยคุณสมบัติของไคติน และไคโตซานที่สามารถจับกับเซลล์เมมเบรน ของจุลินทรีย์ ทำให้เกิดการรั่วไหลของโปรตีน และสารอื่นๆออกมานอกเซลล์จนจุลินทรีย์ไม่สามารถเติบโต และลดจำนวนลง

แผ่นฟิล์มบรรจุอาหาร ด้วยการใช้แผ่นฟิมล์พลาสติกชนิดโพลิเอธิลีนมีข้อเสียทำให้อาหารเน่าเสียเร็ว  เนื่องจากกักเก็บความชื้นไว้ภายใน แต่แผ่นฟิมล์จากไคโตซานสามารถยืดอายุอาหารได้ดีกว่า เนื่องจากสามารถถ่ายเทความชื้นจากอาหารสู่ภายนอกได้ดีกว่า

สารเติมแต่งในน้ำผลไม้ ด้วยการเติมสารไคโตซานช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการเป็น fining agent และควบคุมสภาพความเป็นกรดของน้ำผลไม้ได้ดี

5. เครื่องสำอางค์

ด้วยคุณสมบัติของไคติน และไคโตซานที่สามารถอุ้มน้ำได้ดี และการเป็นฟิมล์บางๆคลุมผิวหนังป้องกันการเสียความชุ่มชื้นของผิว รวมถึงฤทธิ์ในการต้านเชื้อจุลินทรีย์จึงนิยมนำมาเป็นส่วนผสมของเครื่องสำอางหลายชนิด เช่น แป้งหน้า แป้งผัดหน้า สบู่ ยาสีฟัน ยาสระผม ครีมกันแดด ครีมบำรุงผิว ยาย้อมผม ยาเคลือบผม เป็นต้น

6. ทางด้านสิ่งแวดล้อม

ด้วยคุณสมบัติของไคติน และไคโตซานที่สามารถดูดซับ และจับกับสารอินทรีย์จำพวกไขมัน สี รวมถึงสารจำพวกโลหะหนักได้ดีจึงนิยมนำมาประยุกต์ใช้สำหรับเป็นสารกรองหรือตัวดูดซับสารมลพิษในระบบบำบัดน้ำเสีย
อาหารเสริมพืชและสัตว์ไคโตซาน ฟาร์มOK nanotech

FarmOK nanatech
(ฟาร์มโอเคนาโนเทค)


เสริมสร้างการเจริญเติบโตของพืชทุกชนิด เพิ่มผลผลิตและยั้บยั้งโรคเชื้อรา สารไบโอโพลิเมอร์ชีวภาพสกัดจากธรรมชาติ 100% เหมาะสำหรับ พืชผัก พืชสวน พืชไร่ นาข้าว ไม้ผล ไม้ดอก และไม้ประดับ  ซึ่งไคโตซานได้รับการรับรองถึงคุณภาพและความปลอดภัยจากหลายๆสาขา รวมถึง เกษตรกรรมอุตสาหกรรม การแพทย์  และอาหาร ไคโตซานมีประสิทธิภาพด้านเกษตรกรรมในการเพิ่มปริมาณแบคทีเรียในดินและทำให้พืชเจริญเติบโตเร็วขึ้น โดยได้ดัดแปลง Deacetylation และอนุโมเลกุลของไคโตซาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของไคโตซาน ให้ดียิ่งขึ้นในประเทศญี่ปุ่น การใช้ไคโตซานในการเกษตรช่วยลดค่าใช้จ่ายของปุ๋ยให้เหลือครึ่งเดียว มากกว่านั้นผลผลิตเพิ่มเป็น 1.5 เท่าของปกติ


  ฟาร์มOK นาโนเทค

นวัตกรรมไคโตซานจากประเทศญี่ปุ่น

#ไคโตซานไม่ผสมสารเคมี สะอาด บริสุทธิ์

#ไคโตซานเป็นสายพันธุ์สั้น

#ไคโตซานมีความเข้มข้นกว่าเท่าตัว

#ลดปริมาณการใช้ปุ๋ย

#ลดการใช้ยาฆ่าศัตรูพืช

#ช่วยเพิ่มผลผลิตมากถึง 25-30%

#ลดต้นทุนได้ถึง 50%

#ใช้ได้กับพืชและสัตว์ทุกประเภท ทุกสภาพดิน

    **วิธีใช้**

..นาข้าว..🌾

1.ละลายไคโตซานกับน้ำในอัตราส่วน ไคโตซาน 1,000 ml. 1 แกลลอนผสมน้ำ 1,000 ลิตร (20 ซี.ซี. ต่อน้ำ 20 ลิตร)ฉีดลงดินในนาข้าวก่อนเพาะปลูก

2.ฉีดครั้งที่สองหลังเพาะข้าว ด้ายสารละลายไคโตซาน 1,000 ml. 1 แกลลอน ผสมน้ำ 1,000  ลิตร

3.ฉีดครั้งที่สามก่อนออกดอก ฉีดที่ใบ ด้วยสารละลายไคโตซาน 1,000  ml. 1 แกลลอน ผสมน้ำ 2,000 ลิตร (20 ซี.ซี. ต่อน้ำ 40 ลิตร )

4.ฉีดครั้งที่สี่เมื่อข้าวเริ่มตั้งท้อง ด้วยสารละลายไคโตซาน 1,000  ml. 1 แกลลอน ผสมน้ำ 2,000 ลิตร

5.ฉีดในช่วงเริ่มขัดใบ หรือ ข้างแทงหางปลาทู จะทำให้ออกรวงอย่างสมบูรณ์และเมล็ดเต่ง ด้วยสารละลายไคโตซาน 1,000  ml. 1 แกลลอน ผสมน้ำ 2,000 ลิตร

หมายเหตุ : ไคโตซานเร่งการเจริญเติบโตของรากเป็นส่วนแรก แล้วจึงเร่งการเจริญเติบโตของรวงข้าว

ประเภทมัน, หัวไชเท้า, แครอท, หัวหอม (มันฝรั่ง, มันเทศ, มันสำปะหลัง)

1.ละลายไคโตซานกับน้ำในอัตราส่วน ไคโตซาน 1,000  ml. 1 แกลลอน ผสมน้ำ 1,000  ลิตร (20 ซี.ซี. ต่อน้ำ 20 ลิตร)

ฉีดลงดินก่อนเพาะปลูก

2.ฉีดครั้งที่สองลงดินหลังเพาะปลูก ด้ายสารละลายไคโตซาน 1,000  ml. 1 แกลลอน ผสมน้ำ 1,000   ลิตร

3.ฉีดหนึ่งครั้งเว้น 20วัน –1เดือน ฉีดลงดิน ด้วยสารละลายไคโตซาน 1,000  ml. 1 แกลลอน ผสมน้ำ 2,000 ลิตร

(10 ซีซี./น้ำ 20 ลิตร)

หมายเหตุ : ควรหลีกเลี่ยงการฉีดที่ใบ เนื่องจากใบจะเจริญเติบโตเร็วแต่ผลจะไม่โต

ผักประเภทใบม้วน(ผักกาดขาว,กะหล่ำปลี,ผักกาดแก้ว)

1.ละลายไคโตซานกับน้ำในอัตราส่วน ไคโตซาน 1,000  ml. 1 แกลลอน ผสมน้ำ 1,000  ลิตร (20 ซี.ซี. ต่อน้ำ 20 ลิตร)

ฉีดลงดินก่อนเพาะปลูก

2.ฉีดครั้งที่สองหลังเพาะ ด้วยสารละลายไคโตซาน 1,000  ml. 1 แกลลอน ผสมน้ำ 1,000   ลิตร

3.ฉีดเดือนละ 2-4 ครั้ง ฉีดที่ใบ ด้วยสารละลายไคโตซาน 1,000   ml. 1 แกลลอน ผสมน้ำ 2,000 ลิตร (10 ซี.ซี. ต่อน้ำ 20 ลิตร )

หมายเหตุ : หยุดฉีดไคโตซานเมื่อใบเริ่มม้วน



   ...ผัก..ผัก..ผัก...
ทั่วไป(แตงกวา,มะเขือเทศ,มะเขือ,ปวยเล้ง,อ้อย)

1.ละลายไคโตซานกับน้ำในอัตราส่วน ไคโตซาน 1,000  ml. 1 แกลลอน ผสมน้ำ 1,000   ลิตร (20 ซี.ซี. ต่อน้ำ 20 ลิตร)

ฉีดลงดินก่อนเพาะปลูก

2.ฉีดครั้งที่สองหลังเพาะ ด้ายสารละลายไคโตซาน 1,000  ml. 1 แกลลอน ผสมน้ำ 1,000   ลิตร

3.ฉีดครั้งที่สามเมื่อเริ่มมี 8-10 ใบ ฉีดที่ใบเดือนละ 2-4 ครั้ง เพื่อป้องกันการเกิดเชื้อรา ฉีดพ่นหรือราดลงดิน ด้วยสารละลายไคโตซาน 1,000 ml.

1 แกลลอน ผสมน้ำ 2,000 ลิตร (10 ซี.ซี. ต่อน้ำ 20 ลิตร )

ผักโขม, ผักกวางตุ้ง, ผักคะน้า

1. ปรับสภาพดินก่อนปลูก โดยผสมไคโตซาน 20 ซี.ซี. ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นหรือราดลงดินบนแปลงเพาะปลูกให้ชุ่ม

2. เคลือบ เมล็ดพันธุ์หรือแช่เมล็ดพันธุ์ก่อนปลูก อัตราส่วน ไคโตซาน 50 ซี.ซี. ต่อน้ำ 1 ลิตร แช่เมล็ดใช้เวลาประมาณ 1 ชั่วโมง ก่อนปลูก เพื่อป้องกันเชื้อรา กระตุ้นการงอกของรากของเมล็ดพันธุ์ได้ดี เร่งรากให้เจริญเร็วดูดรับสารอาหารได้มากขึ้น

3. ฉีดครั้งที่สองหรือราดลงดินบนแปลงเพาะปลูกหลังเพาะปลูก 2 วัน ด้วยสารละลายไคโตซาน 20 ซี.ซี. ต่อน้ำ 20 ลิตร

4. ฉีดพ่นหรือราดลงดินบนแปลงเพาะปลูกทุก 7 วัน หรือฉีดที่ใบเดือนละ 2-4 ครั้ง เพื่อป้องกันการเกิดเชื้อรา

ด้วยสารละลายไคโตซาน 10 ซี.ซี.ต่อน้ำ 20 ลิตร

..ผลไม้..🍅🍊🍓

1.ละลายไคโตซานกับน้ำในอัตราส่วน ไคโตซาน 1,000 ml. 1 แกลลอน ผสมน้ำ 1,000   ลิตร (20 ซี.ซี. ต่อน้ำ 20 ลิตร)

ฉีดลงดินก่อนเพาะปลูก

2.ฉีดครั้งที่สองหลังเพาะ ด้ายสารละลายไคโตซาน 1,000 ml. 1 แกลลอน ผสมน้ำ 1,000   ลิตร (20 ซี.ซี. ต่อน้ำ 20 ลิตร)

3.ฉีดครั้งที่สามลงดินเดือนละ 2-4 ครั้ง ด้วยสารละลายไคโตซาน 1,000   ml. 1 แกลลอน ผสมน้ำ 1,000   ลิตร(20 ซี.ซี. ต่อน้ำ 20 ลิตร )

..ดอกกล้วยไม้🌻🌷

ฉีดสารละลายไคโตซานกับน้ำในอัตราส่วน ไคโตซาน 1,000 ml. 1 แกลลอน ผสมน้ำ 2,000 ลิตร (10 ซี.ซี. ต่อน้ำ 20 ลิตร)

โดยหลีกเลี่ยงดอกและเกสร เดือนละ 2 ครั้ง

หมายเหตุ : ห้ามฉีดสารละลายไคโตซานที่เข้มข้นกว่าที่ระบุ

..ไม้ดอกทุกชนิด ยกเว้นดอกกล้วยไม้

1.ละลายไคโตซานกับน้ำในอัตราส่วน ไคโตซาน 1,000  ml. 1 แกลลอน ผสมน้ำ 1,000   ลิตร (20 ซี.ซี. ต่อน้ำ 20 ลิตร)

ฉีดลงดินก่อนเพาะปลูก

2.ฉีดครั้งที่สองหลังเพาะ ด้ายสารละลายไคโตซาน 1,000  ml. 1 แกลลอน ผสมน้ำ 1,000   ลิตร (20 ซี.ซี. ต่อน้ำ 20 ลิตร)

3.ฉีดครั้งที่สามลงดินเดือนละ 2-4 ครั้ง ด้วยสารละลายไคโตซาน 1,000   ml. 1 แกลลอน ผสมน้ำ 2,000 ลิตร (10 ซี.ซี. ต่อน้ำ 20 ลิตร )


ไคโตซานผสมกับอาหารไก่,หมู,วัว🐂🐖


1.ผสมไคโตซานกับอาหารสัตว์ในอัตราส่วน ไคโตซาน 5-10 ซี.ซี. ต่อ อาหารสัตว์ 1 กิโลกรัม และให้สัตว์ทุกวัน สามารถเพิ่มภูมิต้านทาน เร่งการเจริญเติบโต ขับโลหะจากสัตว์ และเพิ่มคุณภาพของเนื้อสัตว์

2.สำหรับไก่ ผสมไคโตซานกับน้ำดื่มของไก่ในอัตราส่วน ไคโตซาน 250 ซี.ซี. ต่อน้ำ 1,000 ลิตร สามารถลดการแตกของไข่ ลดการตายของลูกไก่ เพิ่มระยะออกไข่ และคุณสมบัติเหมือนข้อ 1

ไคโตซานผสมปุ๋ยอินทรีย์ ผสมไคโตซานกับปุ๋ยในอัตราส่วน ไคโตซาน 5-10 ซี.ซี. ต่อปุ๋ยอินทรีย์ 1 กิโลกรัม ผสมลงดินที่จะเพาะปลูกหนึ่งครั้งก่อนออกดอกหนึ่งครั้ง แนะนำสำหรับช่วงหน้าฝน และพื้นที่ที่มีน้ำกักขัง

ฆ่าเชื้อและยับยั้งการเน่าของผักและผลไม้

ผสมไคโตซานและน้ำในอัตราส่วน ไคโตซาน 250 ซี.ซี. ต่อน้ำ 200 ลิตร หลังจากนั้น แช่ผัก และผลไม้ 2-5 นาที สามารถฆ่าเชื้อและยับยั้งการเน่าของผักและผลไม้


..ข้อควรระวังในการใช้ไคโตซาน

1.ทางบริษัทมั่นใจถึงประสิทธิภาพของสินค้า และประสิทธิภาพของไคโตซานอาจลดลงหากใช้ ไคโตซานที่เกิน 1 ปี หลังการผลิต

2.ควรเก็บไว้ในอุณหภูมิห้อง

3.หากจะใช้สารผสมไคโตซานกับปุ๋ยน้ำ ให้ทดลองผสมในปริมาณเล็กน้อย หากไม่ละลายเป็นเนื้อเดียวกันไม่ควรใช้

4.ไคโตซานเป็นสารที่ช่วยทำให้ แบคทีเรียในดินเจริญเติบโตได้ดีช่วยย่อยสลายธาตุอาหารของพืช จึงมีความจำเป็นที่จะต้องใช้ควบคู่กับปุ๋ย

ผสมอาหารสัตว์ 5-10 CC : อาหาร  1 กก.

ผสมน้ำให้สัตว์  250 CC : น้ำ 100 L.

ไคโตซานผสมปุ๋ยอินทรีย์  5-10  CC : ปุ๋ย 1 กก.

ฆ่าเชื้อและยับยั้งการเน่าของผักและผลไม้ 250 CC : น้ำ 200 L. แช่ผักและผลไม้ 2-5 นาที

วิธีใช้  1 CC ต่อน้ำ 1 ลิตร

ปริมาณ 1 แกลลอน บรรจุ 1 ลิตร




ขอบคุณข้อมูลจาก..
เคดิต : HEALTHFOODS

     ........................






ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น